ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ใช้บังคับ
แก่ส่วนรำชกำรดังต่อไปนี้
ก. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทั้งหมดภำยในประเทศ ยกเว้นหน่วยงำน
ของรัฐในต่ำงประเทศต้องปรับปรุง
ให้สอดคล้องกับประเทศนั้นๆ
ข. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทุกส่วนทั้งส่วนกลำง และส่วนภูมิภำคทุก
จังหวัด ยกเว้นท้องถิ่นซึ่งมีอิสระที่จะ
กำำหนดรูปแบบของตนเอง
ค. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทุกส่วนทั้งส่วนกลำง ส่วนภูมิภำคและท้อง
ถิ่นภำยในประเทศ
ง. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทุกกระทรวง ทบวง กรม สำำนักงำนหรือ
หน่วยงำนอื่นใดของรัฐ ทั้งในส่วนกลำง
ส่วนภูมิภำค และท้องถิ่น หรือในต่ำงประเทศ
จ. ใช้บังคับแก่ ส่วนรำชกำรทุกกระทรวง ทบวง กรม ทั้งในส่วนกลำง
และส่วนภูมิภำค ยกเว้นรัฐวิสำหกิจ
2. ระเบียบสำำนักนำยรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณฉบับปัจจุบันไม่ใช้บังคับ
แก่
ก.รำชกำรบริหำรส่วนท้องถิ่น
ข. รำชกำรบริหำรส่วนภูมิภำค
ค .รัฐวิสำหกิจ
ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. กับ ข.
จ. ถูกทั้ง ก. ข. และ ค.
3. งำนสำรบรรณ ตำมระเบียบฯ หมำยควำมว่ำ
ก. งำนที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนเอกสำร 6 อย่ำง คือ กำรจัดทำำ กำร
รับ กำรส่ง กำรเก็บรักษำ กำรยืม และกำรทำำลำย
ข. งำนที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนเอกสำรทั้งหมด ตั้งแต่กำรคิด กำรร่ำง
กำรพิมพ์ กำรส่ง กำรรับ กำรเก็บรักษำ
และกำรทำำลำย
ค. งำนบริหำรงำนเกี่ยวกับเอกสำรทั้งหมด รวมทั้งกำรจัดทำำ ดูแล รักษำ
วัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดำษ เครื่องพิมพ์ด้วย
ง. เหมือนข้อ ค. แต่ไม่รวมวัสดุอุปกรณ์
จ. เหมือนข้อ ข. และรวมงำนจัดหำดูแลวัสดุอุปกรณ์ด้วย
4. ตำมระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ผู้
ดำำรงตำำแหน่งใดที่รักษำกำรตำมระเบียบนี้
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีประจำำสำำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. เลขำกำรนำยกรัฐมนตรี
ง. ปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี
จ. รองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
5. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 กำำหนด
ให้ใครมีหน้ำที่ในกำรฝึกอบรมเกี่ยวกับงำน
สำรบรรณ
ก. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรม
ข. ปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเฉพำะจังหวัดนั้น
ง. นำยอำำเภอเฉพำะอำำเภอนั้น
จ. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับหัวหน้ำแผนกขึ้นไป
6. ผู้มีอำำนำจตีควำมและวินิจฉัยปัญหำเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมระเบียบว่ำ
ด้วยงำนสำรบรรณฯ ได้แก่
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. นำยกรัฐมนตรีและปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. เลขำธิกำรสำำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. ปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี
จ. รัฐมนตรีและปลัดกระทรวงผู้ถือปฏิบัติ
7. หนังสือรำชกำร หมำยถึง
ก. หนังสือของหน่วยรำชกำร
ข. เอกสำรที่เป็นหลักฐำนในรำชกำร
ค. หนังสือที่ใช้กระดำษตรำครุฑ
ง. ถูกทุกข้อ
8. หนังสือรำชกำรมีกี่ชนิด
ก. 4 ชนิด

ข. 5 ชนิด

ค. 6 ชนิด

ง. 7 ชนิด

จ. 8 ชนิด
9. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของหนังสือ ตำมระเบียบฯ งำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526
ก. หนังสือประทับตรำ
ข. หนังสือประชำสัมพันธ์
ค .หนังสือที่เจ้ำหน้ำที่ทำำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำร
ง. หนังสือลับ
จ. หนังสือสั่งกำร
10. หนังสือสั่งกำรตำมระเบียบงำนสำรบรรณมี กี่ชนิด
ก. 2 ชนิด

ข. 3 ชนิด

ค. 4 ชนิด

ง. 5 ชนิด
จ. 6 ชนิด
11. ข้อใดไม่ใช่หนังสือสั่งกำรหรือหนังสือประชำสัมพันธ์
ก. ระเบียบ

ข. ข้อบังคับ

ค. ข่ำว

ง.แถลงกำรณ์

จ. ไม่มีข้อใดถูก
12. ข้อใดถูกต้องตำมระเบียบงำนสำรบรรณ
ก. ระเบียบเป็นหนังสือสั่งกำร
ข. ข้องบังคับเป็นหนังสือรำชกำร
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
ง. แถลงกำรณ์ไม่ต้องใช้กระดำษครุฑ
จ. ข่ำวรำชกำรควรใช้กระดำษครุฑ
13. คำำว่ำ หนังสือ ในระเบียบงำนสำรบรรณ หมำยถึง
ก. ฟิล์มที่เกิดขึ้นเนื่องจำกกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่เพื่อเป็นหลักฐำน
ทำงรำชกำร
ข. หนังสือของบุคคลภำยนอกที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่และลงรับไว้แล้ว
ค. โฉนด
ง. ข้อ ข. และข้อ ค. จ. ถูกทุกข้อ
14. หนังสือประทับตรำ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องตำมระเบียบงำนสำรบรรณ
ไป

ก. ใช้ประทับตรำแทนกำรลงชื่อของหัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกองขึ้น
ข. ให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกองลงชื่อเต็มกำำกับตรำ
ค. ใช้ประทับแทนกำรลงชื่อของหัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรมขึ้นไป
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
จ. ไม่มีข้อใดถูก
15. หนังสือประทับตรำ ต้องประทับตรำส่วนรำชกำรด้วยอะไร
ก. หมึกแดง
ข.หมึกสีแดงหรือสีม่วงก็ได้
ค. ระเบียบมิได้ระบุไว้
ง. หมึกสีม่วง
จ. สีอะไรก็ได้แต่ดูให้เหมำะสม
16. แจ้งควำมเป็นหนังสือรำชกำรประเภทใด
ก. หนังสือภำยนอก

ข. หนังสือภำยใน

ค. หนังสือสั่งกำร

ง. หนังสือประชำสัมพันธ์

จ. ไม่ถือเป็นหนังสือรำชกำร
17. ระเบียบ คืออะไร
ก. บรรดำข้อควำมที่ผู้มีอำำนำจหน้ำที่ได้วำงไว้โดยอำศัยอำำนำจของกฏ
หมำย
ข. บรรดำข้อควำมที่ผู้มีอำำนำจหน้ำที่ได้วำงไว้โดยอำศัยอำำนำจของกฏ
หมำยหรือไม่ก็ได้
ค. บรรดำข้อควำมที่ผู้มีอำำนำจกำำหนดให้ข้ำรำชกำรปฏิบัติภำยในส่วน
รำชกำรนั้นๆ
ง. บรรดำข้อควำมที่ผู้บังคับบัญชำสูงสุดในส่วนรำชกำรวำงไว้ให้ส่วน
รำชกำรปฏิบัติ
จ. บรรดำข้อควำมที่ผู้บังคับบัญชำสูงสุดในส่วนรำชกำรวำงไว้ให้
ข้ำรำชกำรปฏิบัติ แต่ต้องอำศัยอำำนำจตำมกฏหมำย
18. ประกำศ แถลงกำรณ์ และข่ำว จัดอยู่ในหนังสือประเภทใด
ก. หนังสือประทับตรา
การ

ข. หนังสือภายนอก

ค. หนังสือภายใน

ง .หนังสือสั่ง

จ. ไม่มีข้อใดถูก
19. ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ ตามระเบียบงานสารบรรณ
ก. ประกาศ

ข. ระเบียบ

ค. คำาสั่ง

ง. ข้องบังคับ

จ. ไม่มีข้อใดถูก
20. แถบบันทึกเสียง การประชุมของส่วนราชการ ถือเป็นหนังสือราชการ
หรือไม่ ชนิดใด
ก. ถือเป็นหนังสือภายใน
ข. ถือเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
ค. ถือเป็นวัสดุประชาสัมพันธ์
ง. ไม่ถือเป็นหนังสือราชการ
จ. ถือเป็นหนังสือราชการ

21. ภาพถ่าย การปฏิบัติงานตามโครงการของส่วนราชการถือเป็นหนังสือ
ราชการหรือไม่ชนิดใด
ก. ถือเป็นหนังสือภายใน
ข. ถือเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
ค. ถือเป็นหนังสือที่ จนท. ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
ง. เป็นวัสดุประชาสัมพันธ์
จ. ไม่เป็นหนังสือราชการ
22. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมีหลายชนิด
ข้อใดไม่ใช่ชนิดของหนังสือประเภทนี้
ก. รายงานการประชุม

ข. หนังสือรับรอง

ค. บันทึก

ง. ข้อบังคับ

จ. หนังสืออื่น
23. ? ข้อบัญญัติตำาบล? จัดเป็นหนังสือราชการประเภทใด
ก. หนังสือประทับตรา

ข. หนังสือสั่งการ

ค. หนังสือบังคับการ

ง. หนังสือประชาสัมพันธ์

24. การออกหนังสือรับรอง ต้องติดรูปถ่ายหรือไม่ตามระเบียบฯ
ก. ต้องติดทุกครั้งตามระเบียบ
ข. ไม่จำาเป็น
ค. ในกรณีเป็นเรื่องสำาคัญที่ออกให้แก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายด้วย
ง. ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่
จ. แล้วแต่ความต้องการของผู้ขอ
25. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ มีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท

ข. 3 ประเภท

ค. 4 ประเภท

ง. 5 ประเภท

จ. 6 ประเภท
26. การระบุชั้นความเร็วให้ใช้ตัวอักษรสี
ก. เขียว

ข. ดำา

ค. นำ้าเงิน

ง. แดง

27. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติทันทีที่ได้รับ
ก. ด่วนที่สุด

ข .ด่วนมาก

ค. ด่วน

ง. ด่วนภายใน

28. ชั้นความลับของหนังสือให้ระบุไว้ที่
ก. ส่วนบนของหนังสือ
ข. ส่วนล่างของหนังสือ
ค. ส่วนบนและส่วนล่างของหนังสือ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
29. ข้อใดไม่ใช้กระดาษตราครุฑ
ก. หนังสือภายใน

ข. หนังสือภายนอก

ค. หนังสือประทับตรา

ง. แถลงการณ์

30. ข้อใดถูกต้อง
ก. ทะเบียนตามระเบียบงานสารบรรณมีทะเบียนหนังสือรับ ทะเบียน
หนังสือส่ง ทะบียนหนังสือเก็บ
ข. ประกาศคือหนังสือสั่งการ
ค. การเก็บหนังสือเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว ให้ประทับตรากำาหนด เก็บ
หนังสือไว้ที่มุมด้านซ้ายของแผ่นกระดาษแผ่นแรก
ง. หนังสือด่วนมาก หมายถึง ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ
จ. หนังสือด่วนที่สุด หมายถึง ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
31. ตามระเบียบงานสารบรรณฯ หนังสือที่จัดทำาขึ้นปกติให้มีสำาเนาคู่ฉบับกี่
ฉบับ
ก. ฉบับเดียวก็พอ
ข. ต้นเรื่อง สารบรรณกอง และสาบรรณกรม รวม 3 ฉบับ
ค. ต้นเรื่อง และสารบรรณกลาง รวม 2 ฉบับ
ง. ปกติ 2 ฉบับ แต่ควรมีสำารองไว้อีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ
จ. แล้วแต่ประเภทหนังสือ
32. ในสำาเนาคู่ฉบับ ให้ลงลายมือชื่อของผู้ใดบ้าง
ก. ผู้ร่าง และผู้พิมพ์
ข. ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจ
ค. ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจ.
ง. ผู้พิมพ์ ผู้ตรวจ และหัวหน้าส่วนราชการ
33. สำาเนาหนังสือใช้เรียก หนังสือที่มาจาก
ก. การถ่ายเอกสารจากต้นฉบับ
ข. การคัดลอกจากต้นฉบับ
ค. การอัดสำาเนาจากต้นฉบับ
ง. ถูกทุกข้อ
34. ตามระเบียบงานสารบรรณผู้ที่จะลงนามรับรองสำาเนาหนังสือราชการ
ต้องเป็นข้าราชการพลเรือนตำาแหน่งระดับใดขึ้นไป
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
จ. 5)
35.ตามระเบียบงานสารบรรณผู้ที่จะลงนามคำารับรองสำาเนาหนังสือให้ใช้คำา
ว่า
ก. รับรองสำาเนา
ข. รับรองถูกต้อง
ค. สำาเนาถูกต้อง
จ. สำาเนาถูกต้องตามต้นฉบับ
36. ตรารับหนังสือ ตามระเบียบงานสารบรรณมีการกรอกรายละเอียด ดังนี้
ก. เลขรับ วันที่ และเวลา
ข. ให้ระบุชื่อส่วนราชการ เลขรับ วันที่ และเวลา
ค. เหมือนข้อ ข. แต่ให้ระบุชนิดความเร่งด่วนด้วย
ง. ระเบียบฯ มิได้ระบุไว้
จ. ให้ส่วนราชการพิจารณาตามความเหมาะสม
37. หนังสือที่ต้องลงทะเบียนรับ คือหนังสือประเภทใด
ก. หนังสือที่ประธาน อบต. เขียนถึง เจ้าหน้าที่ของ อบต.
ข. หนังสือที่รับเข้ามาจากภายนอก
ค. หนังสือที่รับเข้ามาจากเพื่อนร่วมงาน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
38. เลขทะเบียนรับหนังสือให้เรียงหันตามลำาดับและให้เริ่มต้นใหม่เมื่อ
ก. วันเริ่มต้นปีงบประมาณ
ข. วันเริ่มต้นปีปฏิทิน
ค. วันเริ่มต้นเดือนเมษายน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
39. การเก็บหนังสือตามระเบียบงานสารบรรณ แบ่งเป็นกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
40. การเก็บหนังสือ ตามระเบียบงานสารบรรณฯ แบ่งออกเป็น
ก. การเก็บระหว่างปฏิบัติ, การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว และการเก็บไว้
เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
ข. การเก็บระหว่างปฏิบัติ และการเก็บหลังการปฏิบัติ
ค. การเก็บก่อนปฏิบัติ ระหว่างปฏิบัติ และหลังการปฏิบัติ
ง. การเก็บหนังสือเกี่ยวกับการเงินและไม่เกี่ยวกับการเงิน
จ. การเก็บระหว่างปฏิบัติ หลังปฏิบัติ และเก็บเพื่อทำาลาย
41. อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้นานเท่าใด
ก. ไม่น้อยกว่า 2 ปี
ข. ไม่น้อยกว่า 4 ปี
ค. ไม่น้อยกว่า 6 ปี
ง. ไม่น้อยกว่า 8 ปี
จ. ไม่น้อยกว่า 10 ปี
42. หนังสือที่มีอายุครบกี่ปี ซึ่งส่วนราชการจะต้องจัดส่งพร้อมบัญชีส่งมอบ
ให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
ทุกปีปฏิทิน เว้นแต่หนังสือที่ระเบียบกำาหนดไว้
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 15 ปี
ง. 20 ปี
จ. 25 ปี
43. หนังสือที่เป็นธรรมดาสามัญ ซึ่งไม่มีความสำาคัญและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้น
เป็นประจำา เมื่อดำาเนินการแล้วให้เก็บไว้เป็น
เวลาไม่น้อยกว่า
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง . 5 ปี
จ. 6 ปี
44. หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี สถิติ
ฯลฯ ปกติแล้วจะต้องเก็บรักษาไว้นานเท่าใด
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 20 ปี
ง. 25 ปี
จ. ไม่มีข้อใดถูก
45. หนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป ให้ประทับตราคำาว่า
ก. ห้ามเคลื่อนย้าย
ข. เก็บไว้ใช้เพื่อตรวจสอบ
ค. เก็บไว้ตลอดไป
ง. ห้ามทำาลาย
46. หนังสือที่เก็บโดยมีกำาหนดเวลาให้ประทับตราคำาว่า ? เก็บ
ถึง พ.ศ. ....... ? ด้วยหมึก
ก. สีเขียว
ข. สีดำา
ค. สีนำ้าเงิน
ง. สีแดง
47. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับระยะของการเก็บหนังสือ
ก. เก็บไว้เพื่อทำาลาย
ข. เก็บไว้ระหว่างปฏิบัติ
ค. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ง. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
จ. การเก็บไว้ระหว่างปฏิบัติและการเก็บ เมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
48. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมต้องเป็น
ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับฝ่ายขึ้นไป
ง. หัวหน้าส่วนราชการระดับแผนกขึ้นไป
จ. หัวหน้าส่วนราชการระดับใดก็ได้ ขึ้นกับประเภทของหนังสือ
49. การทำาลายหนังสือ ผู้รับผิดชอบต้องสำารวจเสนอเมื่อใด
ก. ภายในวันที่ 31 ธ.ค. ของทุกปี
ข. ภายในวันที่ 30 ก.ย. ของทุกปี
ค. ภายใน 30 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
ง. ภายใน 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
50. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิ หากเก็บไว้เพียง 5 ปี แล้ว
เห็นว่าไม่จำาเป็นประสงค์จะทำาลาย ควรดำาเนินการ
ก. ทำาลายได้เลย
ข. ขอทำาความตกลงกับกรมบัญชีกลาง
ค. ขอทำาความตกลงกับสำานักงานคณะกรรมการจรวจเงินแผ่นดิน
ง. ขออนุมัติกระทรวงเจ้าสังกัด
จ. ขอทำาความตกลงกับกระทรวงการคลัง
51. ใครเป็นผู้มีอำานาจพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทำาลายหนังสือ
ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง
ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับหัวหน้าฝ่าย
ง.หัวหน้าส่วนราชการระดับกองที่รับผิดชอบการเงิน
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
52. คณะกรรมการทำาลายหนังสือ โดยปกติต้องแต่งตั้งจากข้าราชการระดับ
ใด
ก. ข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
ข. ข้าราชการระดับ 4 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
ค. ข้าราชการระดับ 5 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
ง. ข้าราชการระดับ 6 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
53. ตราครุฑ สำาหรับแบบพิมพ์มีกี่ขนาด
ก. มีขนาดเดียว
ข. มี 2 ขนาด
ค. มี 3 ขนาด
ง. มี 4 ขนาด
จ. ระเบียบมิได้ระบุ
54. ตราครุฑ ขนาดที่ใช้ในกระดาษบันทึกข้อความมีขนาด
ก. 1 ซ.ม.
ข. 1.5 ซ.ม
ค. 2 ซ.ม.
ง. 3 ซ.ม
55. มาตรฐานกระดาษ ปกติให้ใช้กระดาษขาว นำ้าหนัก
ก. 50 กรัมต่อตารางเมตร
ข. 60 กรัมต่อตารางเมตร
ค. 70 กรัมต่อตารางเมตร
ง. 80 กรัมต่อตารางเมตร
56. มาตรฐานกระดาษ ปกติใช้กระดาปอนด์ขาวกี่ขนาด
ก. 3 ขนาด คือ เอ 4 เอ 5 เอ 8
ข. 2 ขนาด คือ เอ 4 และ เอ 8
ค. 4 ขนาด คือ เอ 4 เอ 5 เอ 7 เอ 8
ง. ให้หน่วยงานใช้ดุลพินิจตามความเหมาะสม
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
57. กระดาษครุฑ ระเบียบระบุให้ใช้กระดาษขนาดใด
ก. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 8
ข. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 5
ค. ให้ใช้ขนาดเดียว คือ เอ 5
ง. ให้ใช้กระดาษขนาด เอ 4
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
58. กระดาษบันทึกข้อความ ระเบียบระบุให้ใช้กระดาษขนาดใด
ก. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 8
ข. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 5
ค. ให้ใช้ขนาดเดียว คือ เอ 4
ง. ให้ใช้ได้ขนาดเดียว คือ เอ 5
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
59. มาตรฐาน ซอง ปกติใช้กระดาษสีขาวหรือสีนำ้าตาล กี่ขนาด
ก. 4 ขนาด คือ ซี5 ซี6 และซี7
ข. 4 ขนาด คือ ซี4 ซี5 ซี6 และ ดี แอล
ค. 4 ขนาด คือ ซี4 ซี5 ซี แอล และ ดี แอล
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
60. ซองหนังสือที่ใช้บรรจุหนังสือกรกะดาษตราครุฑพับ 4 เป็นซองขนาด
ใด
ก. C4
ข. C5
ค. C6 ง. DL
61. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ตามระเบียบกำาหนด
ให้ใช้ว่าอย่างไร
ก. นมัสการ
ข. กราบทูล
ค. ขอกราบทูลนมัสการ
ง. ขอประทานกราบทูล
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
62. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงพระราชาคณะ ตามระเบียบกำาหนดให้ใช้
ว่าอย่างไร
ก. นมัสการมายัง
ข. กราบนมัสการ
ค. ขอประทานนมัสการ
ง. นมัสการ
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
63. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ตามระเบียบกำาหนด
ให้ใช้ว่าอย่างไร
ก. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ข. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ค. ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง
ง. ขอกราบทูลนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
64. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงพระราชาคณะ ตามระเบียบกำาหนดให้ใช้
ว่าอย่างไร
ก. นมัสการด้วยความเคารพ
ข. นมัสการ
ค. ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง
ง. ขอนมัสการด้วยความนับถืออย่างสูง
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
65. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงประธานองคมนตรี ตามระเบียบระบุให้ใช้
อย่างไร
ก. กราบทูล
ข .ขอประทานกราบทูล
ค. กราบเรียน
ง. เรียน
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
66. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร ตามระเบียบ
ระบุให้ใช้อย่างไร
ก. กราบทูล
ข .ขอประทานกราบทูล
ค. กราบเรียน
ง. เรียน
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
67. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงประธานองคมนตรี ตามระเบียบระบุให้
ใช้อย่างไร
ก. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ข. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง
ค. ขอแสดงความนับถือ
ง. ขอแสดงความเคารพอย่างสูง
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
68. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร ตามระเบียบ
ระบุให้ใช้อย่างไร
ก. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ข. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง
ค. ขอแสดงความนับถือ
ง. ขอแสดงความเคารพอย่างสูง
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
69. ผู้ดำารงตำาแหน่งใดที่ใช้คำาลงท้ายของหนังสือราชการแตกต่างกัน
ก. ประธานองคมนตรีและประธานศาลฎีกา
ข. นายกรัฐมนตรีและประธานศาลฏีกา
ค. ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
ง. นายกรัฐมนตรีและรัฐบุรุษ
จ. ไม่มีข้อใดถูก
70. คำาขึ้นต้นหนังสือราชการถึงรัฐมนตรีประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี ใช้ว่า
อย่างไร
ก. กราบเรียน
ข. กราบเรียน ฯพณฯ
ค. เรียน
ง. ขอประทานกราบเรียน
จ. ไม่มี
ข้อใดถูก
71. ถ้ามีหนังสือถึงประธานสภาจังหวัดใช้คำาลงท้ายว่า
ก. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง
ข. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ค. ขอแสดงความนับถือ
ง. ด้วยความนับถืออย่างสูง
จ. ด้วยความนับถืออย่างยิ่ง
72. คำาขึ้นต้นถึงผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ใช้คำาว่า
ก. ถึง
ข. เรียน
ค. เรียนเสนอ
ง. กราบเรียน
73. ในการเขียนจดหมายราชการ ควรหลีกเลี่ยงข้อใด
ก. เขียนให้ถูกต้องตามแบบหนังสือราชการ
ข. เขียนให้ชัดเจนเข้าใจง่าย
ค. เขียนด้วยการใช้สำานวนโวหาร
ง. เขียนให้มีข้อความสุภาพ
74. ข้อใดถูกต้องในการเขียนวันที่ตามระเบียบสารบรรณ
ก. 14 กรกฎาคม 2539
ข. วันที่ 14 กรกฎาคม 2539
ค. 14 ก.ค. 2539
ง. 14 กรกาคม พ.ศ. 2539
75. การจ่าหน้าซองหนังสือส่งให้ระบุชื่อส่วนราชการที่ออกหนังสือไว้ที่
ก. มุมบนด้านซ้าย ใต้ครุฑ
ข. มุมบนด้านซ้าย ข้างครุฑ
ค. มุมล่างด้านว้าย
ง. มุมล่างด้านขวา
76. การพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ ข้อใดถูกที่สุด
ก. นายองค์การ รักท้องถิ่น
ข. น.ส. สุดสวย รักบ้าน
ค. (องค์การ รักท้องถิ่น)
ง. (นางสาวสุดสวย รักบ้าน)
77. ในการจัดทำารายงานการประชุมไม่ต้องใส่ข้อใด
ก. สถานที่ประชุม
ข. วัน เดือน ปีที่ประชุม
ค. เวลาที่เริ่มประชุม
ง. ประธานในที่ประชุม
78. การกำาหนดชื่อ ? เรื่อง ? ในหนังสือราชการ
ก. ถ้าเป็นหนังสือต่อเนื่องให้ลงชื่อเรื่องเดิม
ข. ให้ลงเรื่องเต็มของหนังสือ
ค. ให้ลงเรื่องย่อเป็นใจความสั้นที่สุด
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
79. ในหนังสือภายนอก ด้านล่างซ้าย คือ
ก. ชื่อที่หน่วยงานที่ออกหนังสือ
ข. ชื่อเจ้าของหนังสือ
ค. ชื่อตำาแหน่งเจ้าของลายมือชื่อ
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
80. หนังสือเวียน หมายถึง
ก. หนังสือที่มีข้อความซำ้าๆ กัน ส่งถึงผู้รับคนเดียวกัน
ข. หนังสือที่มีข้อความอย่างเดียวกัน ส่งถึงผู้รับจำานวนมาก
ค. หนังสือที่มีข้อความเป็นแบบมาตรฐาน ส่งถึงผู้รับจำานวนมาก
ง. หนังสือที่ทำาขึ้นเพื่อส่งข้อความประชาสัมพันธ์
81. หนังสือประทับตรา ไม่ควรใช้ในกรณีใด
ก. ส่งสำาเนาหนังสือ
ข. เตือนเรื่องค้าง
ค. ขอรายละเอียดเพิ่มเติม
ง. ตอบรับทราบเกี่ยวกับการเงิน
82. หลักการจัดเก็บเอกสารเข้าแฟ้มที่ถูกต้อง คือข้อใด
ก. เก็บรวบรวมเรื่องทุกเรื่องไว้ในแฟ้มเดียวกัน
ข. เก็บเอกสารวันที่ล่าสุดไว้ข้างหลัง
ค. เก็บแยกตามประเภท หมวดหมู่ของเอกสาร
ง. ปล่อยให้เอกสารมีจำานวนมากก่อนจึงนำามาเก็บเข้าแฟ้ม
83. ในหนังสือเชิญประชุม ควรมีสาระที่สำาคัญ คือ
ก. กำาหนด วัน เดือน ปี ที่ประชุม
ข. กำาหนดสถานที่ประชุม
ค. แจ้งเรื่องที่จะประชุม
ง. ถูกทุกข้อ
84. ในการจัดทำารายงานการประชุม ให้บันทึกชื่อและตำาแหน่ง เรียงตามข้อ
ใด
ก. ผู้มาประชุม - ผู้ไม่มาประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุม
ข. ผู้มาประชุม - ผู้ขาดการประชุม - ผู้ร่วมการประชุม
ค. ผู้มาประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุม - ผู้ไม่มาประชุม
ง. ผู้มาประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุม - ผู้ขาดการประชุม
จ. แล้วแต่ความต้องการของผู้ขอ
85. ตามแบบข้อบังคับ กำาหนดให้ข้อ 1 เป็น
ก. วันที่ประกาศใช้ขอบังคับ
ข. วันที่ขอบังคับมีผลใช้บังคับ
ค. ชื่อของข้อบังคับ
ง. ผู้รักษาการตามข้อบังคับ
เฉลย 1.ง
9.ง
11.จ
18.จ
21.ค
28.ค
31.ค
38.ข
41.จ
48.ข
51.ข
58.ข
62.ง
69.จ
71.ค

2.ค
3.ก
10.ข
12.ค
13.จ
19.ก
20.ค
22.ง
23.ข
29.ก
30.ก
32.ข
33.ง
39.ข
40.ก
42.จ
43.ก
49.ง
50.จ
52.ก
53.ข
59.
60.ข
63.ก
64.ข
70.ค
72.ข
73.ค

4.ง

5.ข

6.ง

7.ข

8.ค

14.ค

15.ก

16.ง

17.ข

24.ค

25.ข

26.ง

27.ก

34.ข

35.ค

36.ก

37.ข

44.จ

45.ง

46.ค

47.ก

54.ข

55.ข

56.ก

57.ง

65.ค

66.ค

67.ก

68.ก

74.ก

75.ก

76.ง

77.ง
78.ง
81.ง

79.ก
82.ค

80.ข
83.ง

84.ก

85.ค

More Related Content

สอบ

  • 1. 1. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ใช้บังคับ แก่ส่วนรำชกำรดังต่อไปนี้ ก. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทั้งหมดภำยในประเทศ ยกเว้นหน่วยงำน ของรัฐในต่ำงประเทศต้องปรับปรุง ให้สอดคล้องกับประเทศนั้นๆ ข. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทุกส่วนทั้งส่วนกลำง และส่วนภูมิภำคทุก จังหวัด ยกเว้นท้องถิ่นซึ่งมีอิสระที่จะ กำำหนดรูปแบบของตนเอง ค. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทุกส่วนทั้งส่วนกลำง ส่วนภูมิภำคและท้อง ถิ่นภำยในประเทศ ง. ใช้บังคับแก่ส่วนรำชกำรทุกกระทรวง ทบวง กรม สำำนักงำนหรือ หน่วยงำนอื่นใดของรัฐ ทั้งในส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค และท้องถิ่น หรือในต่ำงประเทศ จ. ใช้บังคับแก่ ส่วนรำชกำรทุกกระทรวง ทบวง กรม ทั้งในส่วนกลำง และส่วนภูมิภำค ยกเว้นรัฐวิสำหกิจ 2. ระเบียบสำำนักนำยรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณฉบับปัจจุบันไม่ใช้บังคับ แก่ ก.รำชกำรบริหำรส่วนท้องถิ่น ข. รำชกำรบริหำรส่วนภูมิภำค ค .รัฐวิสำหกิจ ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. กับ ข. จ. ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. 3. งำนสำรบรรณ ตำมระเบียบฯ หมำยควำมว่ำ ก. งำนที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนเอกสำร 6 อย่ำง คือ กำรจัดทำำ กำร รับ กำรส่ง กำรเก็บรักษำ กำรยืม และกำรทำำลำย ข. งำนที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนเอกสำรทั้งหมด ตั้งแต่กำรคิด กำรร่ำง
  • 2. กำรพิมพ์ กำรส่ง กำรรับ กำรเก็บรักษำ และกำรทำำลำย ค. งำนบริหำรงำนเกี่ยวกับเอกสำรทั้งหมด รวมทั้งกำรจัดทำำ ดูแล รักษำ วัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดำษ เครื่องพิมพ์ด้วย ง. เหมือนข้อ ค. แต่ไม่รวมวัสดุอุปกรณ์ จ. เหมือนข้อ ข. และรวมงำนจัดหำดูแลวัสดุอุปกรณ์ด้วย 4. ตำมระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ผู้ ดำำรงตำำแหน่งใดที่รักษำกำรตำมระเบียบนี้ ก. นำยกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีประจำำสำำนักนำยกรัฐมนตรี ค. เลขำกำรนำยกรัฐมนตรี ง. ปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี จ. รองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย 5. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 กำำหนด ให้ใครมีหน้ำที่ในกำรฝึกอบรมเกี่ยวกับงำน สำรบรรณ ก. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรม ข. ปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเฉพำะจังหวัดนั้น ง. นำยอำำเภอเฉพำะอำำเภอนั้น จ. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับหัวหน้ำแผนกขึ้นไป 6. ผู้มีอำำนำจตีควำมและวินิจฉัยปัญหำเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมระเบียบว่ำ ด้วยงำนสำรบรรณฯ ได้แก่ ก. นำยกรัฐมนตรี
  • 3. ข. นำยกรัฐมนตรีและปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี ค. เลขำธิกำรสำำนักนำยกรัฐมนตรี ง. ปลัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี จ. รัฐมนตรีและปลัดกระทรวงผู้ถือปฏิบัติ 7. หนังสือรำชกำร หมำยถึง ก. หนังสือของหน่วยรำชกำร ข. เอกสำรที่เป็นหลักฐำนในรำชกำร ค. หนังสือที่ใช้กระดำษตรำครุฑ ง. ถูกทุกข้อ 8. หนังสือรำชกำรมีกี่ชนิด ก. 4 ชนิด ข. 5 ชนิด ค. 6 ชนิด ง. 7 ชนิด จ. 8 ชนิด 9. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของหนังสือ ตำมระเบียบฯ งำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ก. หนังสือประทับตรำ ข. หนังสือประชำสัมพันธ์ ค .หนังสือที่เจ้ำหน้ำที่ทำำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำร ง. หนังสือลับ จ. หนังสือสั่งกำร 10. หนังสือสั่งกำรตำมระเบียบงำนสำรบรรณมี กี่ชนิด ก. 2 ชนิด ข. 3 ชนิด ค. 4 ชนิด ง. 5 ชนิด
  • 4. จ. 6 ชนิด 11. ข้อใดไม่ใช่หนังสือสั่งกำรหรือหนังสือประชำสัมพันธ์ ก. ระเบียบ ข. ข้อบังคับ ค. ข่ำว ง.แถลงกำรณ์ จ. ไม่มีข้อใดถูก 12. ข้อใดถูกต้องตำมระเบียบงำนสำรบรรณ ก. ระเบียบเป็นหนังสือสั่งกำร ข. ข้องบังคับเป็นหนังสือรำชกำร ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข. ง. แถลงกำรณ์ไม่ต้องใช้กระดำษครุฑ จ. ข่ำวรำชกำรควรใช้กระดำษครุฑ 13. คำำว่ำ หนังสือ ในระเบียบงำนสำรบรรณ หมำยถึง ก. ฟิล์มที่เกิดขึ้นเนื่องจำกกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่เพื่อเป็นหลักฐำน ทำงรำชกำร ข. หนังสือของบุคคลภำยนอกที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่และลงรับไว้แล้ว ค. โฉนด ง. ข้อ ข. และข้อ ค. จ. ถูกทุกข้อ 14. หนังสือประทับตรำ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องตำมระเบียบงำนสำรบรรณ ไป ก. ใช้ประทับตรำแทนกำรลงชื่อของหัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกองขึ้น ข. ให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกองลงชื่อเต็มกำำกับตรำ ค. ใช้ประทับแทนกำรลงชื่อของหัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรมขึ้นไป
  • 5. ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข. จ. ไม่มีข้อใดถูก 15. หนังสือประทับตรำ ต้องประทับตรำส่วนรำชกำรด้วยอะไร ก. หมึกแดง ข.หมึกสีแดงหรือสีม่วงก็ได้ ค. ระเบียบมิได้ระบุไว้ ง. หมึกสีม่วง จ. สีอะไรก็ได้แต่ดูให้เหมำะสม 16. แจ้งควำมเป็นหนังสือรำชกำรประเภทใด ก. หนังสือภำยนอก ข. หนังสือภำยใน ค. หนังสือสั่งกำร ง. หนังสือประชำสัมพันธ์ จ. ไม่ถือเป็นหนังสือรำชกำร 17. ระเบียบ คืออะไร ก. บรรดำข้อควำมที่ผู้มีอำำนำจหน้ำที่ได้วำงไว้โดยอำศัยอำำนำจของกฏ หมำย ข. บรรดำข้อควำมที่ผู้มีอำำนำจหน้ำที่ได้วำงไว้โดยอำศัยอำำนำจของกฏ หมำยหรือไม่ก็ได้ ค. บรรดำข้อควำมที่ผู้มีอำำนำจกำำหนดให้ข้ำรำชกำรปฏิบัติภำยในส่วน รำชกำรนั้นๆ ง. บรรดำข้อควำมที่ผู้บังคับบัญชำสูงสุดในส่วนรำชกำรวำงไว้ให้ส่วน รำชกำรปฏิบัติ จ. บรรดำข้อควำมที่ผู้บังคับบัญชำสูงสุดในส่วนรำชกำรวำงไว้ให้ ข้ำรำชกำรปฏิบัติ แต่ต้องอำศัยอำำนำจตำมกฏหมำย 18. ประกำศ แถลงกำรณ์ และข่ำว จัดอยู่ในหนังสือประเภทใด
  • 6. ก. หนังสือประทับตรา การ ข. หนังสือภายนอก ค. หนังสือภายใน ง .หนังสือสั่ง จ. ไม่มีข้อใดถูก 19. ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ ตามระเบียบงานสารบรรณ ก. ประกาศ ข. ระเบียบ ค. คำาสั่ง ง. ข้องบังคับ จ. ไม่มีข้อใดถูก 20. แถบบันทึกเสียง การประชุมของส่วนราชการ ถือเป็นหนังสือราชการ หรือไม่ ชนิดใด ก. ถือเป็นหนังสือภายใน ข. ถือเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ ค. ถือเป็นวัสดุประชาสัมพันธ์ ง. ไม่ถือเป็นหนังสือราชการ จ. ถือเป็นหนังสือราชการ 21. ภาพถ่าย การปฏิบัติงานตามโครงการของส่วนราชการถือเป็นหนังสือ ราชการหรือไม่ชนิดใด ก. ถือเป็นหนังสือภายใน ข. ถือเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ ค. ถือเป็นหนังสือที่ จนท. ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ง. เป็นวัสดุประชาสัมพันธ์ จ. ไม่เป็นหนังสือราชการ
  • 7. 22. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมีหลายชนิด ข้อใดไม่ใช่ชนิดของหนังสือประเภทนี้ ก. รายงานการประชุม ข. หนังสือรับรอง ค. บันทึก ง. ข้อบังคับ จ. หนังสืออื่น 23. ? ข้อบัญญัติตำาบล? จัดเป็นหนังสือราชการประเภทใด ก. หนังสือประทับตรา ข. หนังสือสั่งการ ค. หนังสือบังคับการ ง. หนังสือประชาสัมพันธ์ 24. การออกหนังสือรับรอง ต้องติดรูปถ่ายหรือไม่ตามระเบียบฯ ก. ต้องติดทุกครั้งตามระเบียบ ข. ไม่จำาเป็น ค. ในกรณีเป็นเรื่องสำาคัญที่ออกให้แก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายด้วย ง. ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ จ. แล้วแต่ความต้องการของผู้ขอ 25. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ มีกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท จ. 6 ประเภท 26. การระบุชั้นความเร็วให้ใช้ตัวอักษรสี ก. เขียว ข. ดำา ค. นำ้าเงิน ง. แดง 27. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติทันทีที่ได้รับ
  • 8. ก. ด่วนที่สุด ข .ด่วนมาก ค. ด่วน ง. ด่วนภายใน 28. ชั้นความลับของหนังสือให้ระบุไว้ที่ ก. ส่วนบนของหนังสือ ข. ส่วนล่างของหนังสือ ค. ส่วนบนและส่วนล่างของหนังสือ ง. ไม่มีข้อใดถูก 29. ข้อใดไม่ใช้กระดาษตราครุฑ ก. หนังสือภายใน ข. หนังสือภายนอก ค. หนังสือประทับตรา ง. แถลงการณ์ 30. ข้อใดถูกต้อง ก. ทะเบียนตามระเบียบงานสารบรรณมีทะเบียนหนังสือรับ ทะเบียน หนังสือส่ง ทะบียนหนังสือเก็บ ข. ประกาศคือหนังสือสั่งการ ค. การเก็บหนังสือเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว ให้ประทับตรากำาหนด เก็บ หนังสือไว้ที่มุมด้านซ้ายของแผ่นกระดาษแผ่นแรก ง. หนังสือด่วนมาก หมายถึง ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ จ. หนังสือด่วนที่สุด หมายถึง ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว 31. ตามระเบียบงานสารบรรณฯ หนังสือที่จัดทำาขึ้นปกติให้มีสำาเนาคู่ฉบับกี่ ฉบับ ก. ฉบับเดียวก็พอ ข. ต้นเรื่อง สารบรรณกอง และสาบรรณกรม รวม 3 ฉบับ ค. ต้นเรื่อง และสารบรรณกลาง รวม 2 ฉบับ ง. ปกติ 2 ฉบับ แต่ควรมีสำารองไว้อีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ จ. แล้วแต่ประเภทหนังสือ 32. ในสำาเนาคู่ฉบับ ให้ลงลายมือชื่อของผู้ใดบ้าง ก. ผู้ร่าง และผู้พิมพ์ ข. ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจ ค. ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจ. ง. ผู้พิมพ์ ผู้ตรวจ และหัวหน้าส่วนราชการ 33. สำาเนาหนังสือใช้เรียก หนังสือที่มาจาก ก. การถ่ายเอกสารจากต้นฉบับ
  • 9. ข. การคัดลอกจากต้นฉบับ ค. การอัดสำาเนาจากต้นฉบับ ง. ถูกทุกข้อ 34. ตามระเบียบงานสารบรรณผู้ที่จะลงนามรับรองสำาเนาหนังสือราชการ ต้องเป็นข้าราชการพลเรือนตำาแหน่งระดับใดขึ้นไป ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 5) 35.ตามระเบียบงานสารบรรณผู้ที่จะลงนามคำารับรองสำาเนาหนังสือให้ใช้คำา ว่า ก. รับรองสำาเนา ข. รับรองถูกต้อง ค. สำาเนาถูกต้อง จ. สำาเนาถูกต้องตามต้นฉบับ 36. ตรารับหนังสือ ตามระเบียบงานสารบรรณมีการกรอกรายละเอียด ดังนี้ ก. เลขรับ วันที่ และเวลา ข. ให้ระบุชื่อส่วนราชการ เลขรับ วันที่ และเวลา ค. เหมือนข้อ ข. แต่ให้ระบุชนิดความเร่งด่วนด้วย ง. ระเบียบฯ มิได้ระบุไว้ จ. ให้ส่วนราชการพิจารณาตามความเหมาะสม 37. หนังสือที่ต้องลงทะเบียนรับ คือหนังสือประเภทใด ก. หนังสือที่ประธาน อบต. เขียนถึง เจ้าหน้าที่ของ อบต. ข. หนังสือที่รับเข้ามาจากภายนอก ค. หนังสือที่รับเข้ามาจากเพื่อนร่วมงาน ง. ไม่มีข้อใดถูก 38. เลขทะเบียนรับหนังสือให้เรียงหันตามลำาดับและให้เริ่มต้นใหม่เมื่อ ก. วันเริ่มต้นปีงบประมาณ ข. วันเริ่มต้นปีปฏิทิน ค. วันเริ่มต้นเดือนเมษายน ง. ไม่มีข้อใดถูก 39. การเก็บหนังสือตามระเบียบงานสารบรรณ แบ่งเป็นกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 40. การเก็บหนังสือ ตามระเบียบงานสารบรรณฯ แบ่งออกเป็น ก. การเก็บระหว่างปฏิบัติ, การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว และการเก็บไว้ เพื่อใช้ในการตรวจสอบ ข. การเก็บระหว่างปฏิบัติ และการเก็บหลังการปฏิบัติ ค. การเก็บก่อนปฏิบัติ ระหว่างปฏิบัติ และหลังการปฏิบัติ ง. การเก็บหนังสือเกี่ยวกับการเงินและไม่เกี่ยวกับการเงิน จ. การเก็บระหว่างปฏิบัติ หลังปฏิบัติ และเก็บเพื่อทำาลาย
  • 10. 41. อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้นานเท่าใด ก. ไม่น้อยกว่า 2 ปี ข. ไม่น้อยกว่า 4 ปี ค. ไม่น้อยกว่า 6 ปี ง. ไม่น้อยกว่า 8 ปี จ. ไม่น้อยกว่า 10 ปี 42. หนังสือที่มีอายุครบกี่ปี ซึ่งส่วนราชการจะต้องจัดส่งพร้อมบัญชีส่งมอบ ให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ทุกปีปฏิทิน เว้นแต่หนังสือที่ระเบียบกำาหนดไว้ ก. 5 ปี ข. 10 ปี ค. 15 ปี ง. 20 ปี จ. 25 ปี 43. หนังสือที่เป็นธรรมดาสามัญ ซึ่งไม่มีความสำาคัญและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้น เป็นประจำา เมื่อดำาเนินการแล้วให้เก็บไว้เป็น เวลาไม่น้อยกว่า ก. 1 ปี ข. 2 ปี ค. 3 ปี ง . 5 ปี จ. 6 ปี 44. หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี สถิติ ฯลฯ ปกติแล้วจะต้องเก็บรักษาไว้นานเท่าใด ก. 5 ปี ข. 10 ปี ค. 20 ปี ง. 25 ปี จ. ไม่มีข้อใดถูก 45. หนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป ให้ประทับตราคำาว่า ก. ห้ามเคลื่อนย้าย ข. เก็บไว้ใช้เพื่อตรวจสอบ ค. เก็บไว้ตลอดไป ง. ห้ามทำาลาย 46. หนังสือที่เก็บโดยมีกำาหนดเวลาให้ประทับตราคำาว่า ? เก็บ ถึง พ.ศ. ....... ? ด้วยหมึก ก. สีเขียว ข. สีดำา ค. สีนำ้าเงิน ง. สีแดง 47. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับระยะของการเก็บหนังสือ ก. เก็บไว้เพื่อทำาลาย ข. เก็บไว้ระหว่างปฏิบัติ ค. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว ง. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ จ. การเก็บไว้ระหว่างปฏิบัติและการเก็บ เมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว 48. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมต้องเป็น ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
  • 11. ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับฝ่ายขึ้นไป ง. หัวหน้าส่วนราชการระดับแผนกขึ้นไป จ. หัวหน้าส่วนราชการระดับใดก็ได้ ขึ้นกับประเภทของหนังสือ 49. การทำาลายหนังสือ ผู้รับผิดชอบต้องสำารวจเสนอเมื่อใด ก. ภายในวันที่ 31 ธ.ค. ของทุกปี ข. ภายในวันที่ 30 ก.ย. ของทุกปี ค. ภายใน 30 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน ง. ภายใน 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 50. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินที่ไม่ใช่เอกสารสิทธิ หากเก็บไว้เพียง 5 ปี แล้ว เห็นว่าไม่จำาเป็นประสงค์จะทำาลาย ควรดำาเนินการ ก. ทำาลายได้เลย ข. ขอทำาความตกลงกับกรมบัญชีกลาง ค. ขอทำาความตกลงกับสำานักงานคณะกรรมการจรวจเงินแผ่นดิน ง. ขออนุมัติกระทรวงเจ้าสังกัด จ. ขอทำาความตกลงกับกระทรวงการคลัง 51. ใครเป็นผู้มีอำานาจพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทำาลายหนังสือ ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับหัวหน้าฝ่าย ง.หัวหน้าส่วนราชการระดับกองที่รับผิดชอบการเงิน จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 52. คณะกรรมการทำาลายหนังสือ โดยปกติต้องแต่งตั้งจากข้าราชการระดับ ใด ก. ข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ข. ข้าราชการระดับ 4 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ค. ข้าราชการระดับ 5 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ง. ข้าราชการระดับ 6 หรือเทียบเท่าขึ้นไป จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 53. ตราครุฑ สำาหรับแบบพิมพ์มีกี่ขนาด ก. มีขนาดเดียว ข. มี 2 ขนาด ค. มี 3 ขนาด ง. มี 4 ขนาด จ. ระเบียบมิได้ระบุ 54. ตราครุฑ ขนาดที่ใช้ในกระดาษบันทึกข้อความมีขนาด ก. 1 ซ.ม. ข. 1.5 ซ.ม ค. 2 ซ.ม. ง. 3 ซ.ม
  • 12. 55. มาตรฐานกระดาษ ปกติให้ใช้กระดาษขาว นำ้าหนัก ก. 50 กรัมต่อตารางเมตร ข. 60 กรัมต่อตารางเมตร ค. 70 กรัมต่อตารางเมตร ง. 80 กรัมต่อตารางเมตร 56. มาตรฐานกระดาษ ปกติใช้กระดาปอนด์ขาวกี่ขนาด ก. 3 ขนาด คือ เอ 4 เอ 5 เอ 8 ข. 2 ขนาด คือ เอ 4 และ เอ 8 ค. 4 ขนาด คือ เอ 4 เอ 5 เอ 7 เอ 8 ง. ให้หน่วยงานใช้ดุลพินิจตามความเหมาะสม จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 57. กระดาษครุฑ ระเบียบระบุให้ใช้กระดาษขนาดใด ก. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 8 ข. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 5 ค. ให้ใช้ขนาดเดียว คือ เอ 5 ง. ให้ใช้กระดาษขนาด เอ 4 จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 58. กระดาษบันทึกข้อความ ระเบียบระบุให้ใช้กระดาษขนาดใด ก. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 8 ข. ให้ใช้ได้ 2 ขนาด คือ เอ 4 หรือ เอ 5 ค. ให้ใช้ขนาดเดียว คือ เอ 4 ง. ให้ใช้ได้ขนาดเดียว คือ เอ 5 จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 59. มาตรฐาน ซอง ปกติใช้กระดาษสีขาวหรือสีนำ้าตาล กี่ขนาด ก. 4 ขนาด คือ ซี5 ซี6 และซี7 ข. 4 ขนาด คือ ซี4 ซี5 ซี6 และ ดี แอล ค. 4 ขนาด คือ ซี4 ซี5 ซี แอล และ ดี แอล จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 60. ซองหนังสือที่ใช้บรรจุหนังสือกรกะดาษตราครุฑพับ 4 เป็นซองขนาด ใด ก. C4 ข. C5 ค. C6 ง. DL 61. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ตามระเบียบกำาหนด ให้ใช้ว่าอย่างไร ก. นมัสการ ข. กราบทูล ค. ขอกราบทูลนมัสการ ง. ขอประทานกราบทูล
  • 13. จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 62. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงพระราชาคณะ ตามระเบียบกำาหนดให้ใช้ ว่าอย่างไร ก. นมัสการมายัง ข. กราบนมัสการ ค. ขอประทานนมัสการ ง. นมัสการ จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 63. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ตามระเบียบกำาหนด ให้ใช้ว่าอย่างไร ก. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ข. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ค. ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง ง. ขอกราบทูลนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 64. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงพระราชาคณะ ตามระเบียบกำาหนดให้ใช้ ว่าอย่างไร ก. นมัสการด้วยความเคารพ ข. นมัสการ ค. ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง ง. ขอนมัสการด้วยความนับถืออย่างสูง จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 65. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงประธานองคมนตรี ตามระเบียบระบุให้ใช้ อย่างไร ก. กราบทูล ข .ขอประทานกราบทูล ค. กราบเรียน ง. เรียน จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 66. คำาขึ้นต้น หนังสือราชการถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร ตามระเบียบ ระบุให้ใช้อย่างไร ก. กราบทูล ข .ขอประทานกราบทูล ค. กราบเรียน ง. เรียน จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 67. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงประธานองคมนตรี ตามระเบียบระบุให้ ใช้อย่างไร ก. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ข. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง ค. ขอแสดงความนับถือ
  • 14. ง. ขอแสดงความเคารพอย่างสูง จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 68. คำาลงท้าย หนังสือราชการถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร ตามระเบียบ ระบุให้ใช้อย่างไร ก. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ข. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง ค. ขอแสดงความนับถือ ง. ขอแสดงความเคารพอย่างสูง จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้ 69. ผู้ดำารงตำาแหน่งใดที่ใช้คำาลงท้ายของหนังสือราชการแตกต่างกัน ก. ประธานองคมนตรีและประธานศาลฎีกา ข. นายกรัฐมนตรีและประธานศาลฏีกา ค. ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ง. นายกรัฐมนตรีและรัฐบุรุษ จ. ไม่มีข้อใดถูก 70. คำาขึ้นต้นหนังสือราชการถึงรัฐมนตรีประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี ใช้ว่า อย่างไร ก. กราบเรียน ข. กราบเรียน ฯพณฯ ค. เรียน ง. ขอประทานกราบเรียน จ. ไม่มี ข้อใดถูก 71. ถ้ามีหนังสือถึงประธานสภาจังหวัดใช้คำาลงท้ายว่า ก. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง ข. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ค. ขอแสดงความนับถือ ง. ด้วยความนับถืออย่างสูง จ. ด้วยความนับถืออย่างยิ่ง 72. คำาขึ้นต้นถึงผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ใช้คำาว่า ก. ถึง ข. เรียน ค. เรียนเสนอ ง. กราบเรียน 73. ในการเขียนจดหมายราชการ ควรหลีกเลี่ยงข้อใด ก. เขียนให้ถูกต้องตามแบบหนังสือราชการ ข. เขียนให้ชัดเจนเข้าใจง่าย ค. เขียนด้วยการใช้สำานวนโวหาร ง. เขียนให้มีข้อความสุภาพ 74. ข้อใดถูกต้องในการเขียนวันที่ตามระเบียบสารบรรณ ก. 14 กรกฎาคม 2539
  • 15. ข. วันที่ 14 กรกฎาคม 2539 ค. 14 ก.ค. 2539 ง. 14 กรกาคม พ.ศ. 2539 75. การจ่าหน้าซองหนังสือส่งให้ระบุชื่อส่วนราชการที่ออกหนังสือไว้ที่ ก. มุมบนด้านซ้าย ใต้ครุฑ ข. มุมบนด้านซ้าย ข้างครุฑ ค. มุมล่างด้านว้าย ง. มุมล่างด้านขวา 76. การพิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ ข้อใดถูกที่สุด ก. นายองค์การ รักท้องถิ่น ข. น.ส. สุดสวย รักบ้าน ค. (องค์การ รักท้องถิ่น) ง. (นางสาวสุดสวย รักบ้าน) 77. ในการจัดทำารายงานการประชุมไม่ต้องใส่ข้อใด ก. สถานที่ประชุม ข. วัน เดือน ปีที่ประชุม ค. เวลาที่เริ่มประชุม ง. ประธานในที่ประชุม 78. การกำาหนดชื่อ ? เรื่อง ? ในหนังสือราชการ ก. ถ้าเป็นหนังสือต่อเนื่องให้ลงชื่อเรื่องเดิม ข. ให้ลงเรื่องเต็มของหนังสือ ค. ให้ลงเรื่องย่อเป็นใจความสั้นที่สุด ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค. 79. ในหนังสือภายนอก ด้านล่างซ้าย คือ ก. ชื่อที่หน่วยงานที่ออกหนังสือ ข. ชื่อเจ้าของหนังสือ ค. ชื่อตำาแหน่งเจ้าของลายมือชื่อ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค. 80. หนังสือเวียน หมายถึง ก. หนังสือที่มีข้อความซำ้าๆ กัน ส่งถึงผู้รับคนเดียวกัน ข. หนังสือที่มีข้อความอย่างเดียวกัน ส่งถึงผู้รับจำานวนมาก ค. หนังสือที่มีข้อความเป็นแบบมาตรฐาน ส่งถึงผู้รับจำานวนมาก ง. หนังสือที่ทำาขึ้นเพื่อส่งข้อความประชาสัมพันธ์ 81. หนังสือประทับตรา ไม่ควรใช้ในกรณีใด ก. ส่งสำาเนาหนังสือ ข. เตือนเรื่องค้าง ค. ขอรายละเอียดเพิ่มเติม
  • 16. ง. ตอบรับทราบเกี่ยวกับการเงิน 82. หลักการจัดเก็บเอกสารเข้าแฟ้มที่ถูกต้อง คือข้อใด ก. เก็บรวบรวมเรื่องทุกเรื่องไว้ในแฟ้มเดียวกัน ข. เก็บเอกสารวันที่ล่าสุดไว้ข้างหลัง ค. เก็บแยกตามประเภท หมวดหมู่ของเอกสาร ง. ปล่อยให้เอกสารมีจำานวนมากก่อนจึงนำามาเก็บเข้าแฟ้ม 83. ในหนังสือเชิญประชุม ควรมีสาระที่สำาคัญ คือ ก. กำาหนด วัน เดือน ปี ที่ประชุม ข. กำาหนดสถานที่ประชุม ค. แจ้งเรื่องที่จะประชุม ง. ถูกทุกข้อ 84. ในการจัดทำารายงานการประชุม ให้บันทึกชื่อและตำาแหน่ง เรียงตามข้อ ใด ก. ผู้มาประชุม - ผู้ไม่มาประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุม ข. ผู้มาประชุม - ผู้ขาดการประชุม - ผู้ร่วมการประชุม ค. ผู้มาประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุม - ผู้ไม่มาประชุม ง. ผู้มาประชุม - ผู้เข้าร่วมประชุม - ผู้ขาดการประชุม จ. แล้วแต่ความต้องการของผู้ขอ 85. ตามแบบข้อบังคับ กำาหนดให้ข้อ 1 เป็น ก. วันที่ประกาศใช้ขอบังคับ ข. วันที่ขอบังคับมีผลใช้บังคับ ค. ชื่อของข้อบังคับ ง. ผู้รักษาการตามข้อบังคับ เฉลย 1.ง 9.ง 11.จ 18.จ 21.ค 28.ค 31.ค 38.ข 41.จ 48.ข 51.ข 58.ข 62.ง 69.จ 71.ค 2.ค 3.ก 10.ข 12.ค 13.จ 19.ก 20.ค 22.ง 23.ข 29.ก 30.ก 32.ข 33.ง 39.ข 40.ก 42.จ 43.ก 49.ง 50.จ 52.ก 53.ข 59. 60.ข 63.ก 64.ข 70.ค 72.ข 73.ค 4.ง 5.ข 6.ง 7.ข 8.ค 14.ค 15.ก 16.ง 17.ข 24.ค 25.ข 26.ง 27.ก 34.ข 35.ค 36.ก 37.ข 44.จ 45.ง 46.ค 47.ก 54.ข 55.ข 56.ก 57.ง 65.ค 66.ค 67.ก 68.ก 74.ก 75.ก 76.ง 77.ง