ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล และ แบบ
จำา ลองข้อ มูล
Database Architecture and Data
Model
Introduction to
Database

อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
 “สถาปัต ยกรรม”

จะเป็นการศึกษาถึงโครงสร้าง
องค์ประกอบหลักของระบบ และหน้าที่ในแต่ละองค์
ประกอบ รวมทังการสื่อสารหรือการติดต่อกับส่วน
้
อื่น ๆ ทีเกี่ยวข้อง ในระบบฐานข้อมูล โปรแกรม
่
ประยุกต์ไม่ได้ขึ้นอยูกับโครงสร้างข้อมูลทีมการ
่
่ ี
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากการจัดโครงสร้างของระบบ
ฐานข้อมูล สถาบันANSI-SPARC ( American
National Standards Institute : ANSI and
Standards Planning and Requirements
Committeeอัจฉรา สุมังเกษตร มีการแบ่งระดับของข้อมูล
อ. : SPARC)
Introduction to Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
External
User3
level
Conceptual
level

User1
View 1

User2
View 2

View n

Conceptual
Schema

Internal
level

Internal
Schema

Physical data
organization

Database

อ.
Introduction to Database
รูป สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูอัจฉราระดับ (The ANSI-SPARC three-level architec
ล 3 สุมังเกษตร
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
 ระดับ ภายใน

( Internal Level)
เป็นระดับของการจัดเก็บฐานข้อมูลในหน่วยเก็บ
ข้อมูลสำารองจริง ๆ ว่ามีโครงสร้างข้อมูลจัดเก็บ
อย่างไร (how) ในฐานข้อมูล โดยโครงสร้างข้อมูล
ในแต่ละแบบจะมีผลต่อประสิทธิภาพของความเร็ว
ในการเข้าถึง (access) ด้วย

อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
 ระดับ แนวคิด

(Conceptual Level)
เป็นโครงสร้างหลักของระบบโดยรวม เป็นระดับ
ของการออกแบบฐานข้อมูล ว่าจะเก็บข้อมูลอะไร
(what) และมุงเน้นความสัมพันธ์ (relationship)
่
ระหว่างข้อมูล ผลลัพธ์ทได้จะทำาให้เกิดสิงทีเรียกว่า
ี่
่ ่
Schema (มุมมองระบบ) ในระดับนีจะเรียกว่า
้
Conceptual Schema อธิบายว่า ฐานข้อมูลที่
สร้างประกอบด้วยEntityอะไรบ้าง แต่ละEntity
ประกอบด้วยเขตข้อมูล(Attribute)ใดบ้าง และ
ความสัมพันธ์(Relationship)แต่ละEntityเป็น
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร
Introduction to Database
อย่างไร
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
: การกำาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง
ตาราง แบ่งออกเป็น
1. ความสัม พัน ธ์แ บบหนึง ต่อ หนึง (one-to่
่
one relationship) : เป็นความสัมพันธ์
ระหว่างentityหนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับ
อีกentityหนึ่งเพียงหนึ่งรายการเท่านั้น เช่น
1
พนักงาน(Staff) หนึ่งคนจะดูแลหนึงสาขา ในขณะ
่
1
Staff
Manages
Branch
ทีสาขาจะมีหัวหน้าพนักงานดูแลได้เพียงหนึงคน
่
่

 Relationship

รูปความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
2. ความสัม พัน ธ์แ บบหนึง ต่อ กลุ่ม (one-to่
many relationship) : เป็นความสัมพันธ์
ระหว่าง entity หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีก
entity หนึ่งมากกว่าหนึ่งรายการ เช่น สาขาหนึง
่
จะมีพนักงานอยู่หลายคน โดยที่พนักงานหลาย ๆ
คนจะสังกัดอยู่หนึ่งสาขา
Branch

1

Is Allocated

M

Staff

รูปความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
3. ความสัม พัน ธ์แ บบกลุ่ม ต่อ กลุ่ม (many-tomany relationship) : เป็นความสัมพันธ์แบบ
หลายรายการระหว่างentityทังสอง เช่น บ้านเช่า
้
หลาย ๆ หลังสามารถประกาศโฆษณาลงใน
หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับได้ ในขณะที่
N
หนัNewspaper หลายฉบับก็สามารถลงโฆษณาบ้าน
งสือพิมพ์ M Is Allocated
Property_for
_Rent
เช่าได้หลายหลังเช่นกัน
รูปความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
 ระดับ ภายนอก

(External Level)
เป็นระดับการมองหรือวิว(View)ของข้อมูลภายใน
ฐานข้อมูลสำาหรับผู้ใช้งานแต่ละคน เป็นระดับทีมี
่
การนำาข้อมูลจากฐานข้อมูลไปใช้งาน โดยผู้ใช้
แต่ละคนสามารถเลือกอ่านข้อมูลเฉพาะที่ตนสนใจ
หรือต้องการใช้เท่านั้น วิวของข้อมูลจะถูกดึงมา
จาก Conceptual Schema และสิ่งทีใช้อธิบายวิว
่
ข้อมูลทีถูกดึงมาจากฐานข้อมูลทีอยู่ในระดับ
่
่
Conceptual นีจะเรียกว่า External Schema
้
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร
Introduction to Database
หรือ Subschema(มุมมองผู้ใช้งาน) ซึงสามารถมี
่
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
 ประโยชน์ข องสถาปัต ยกรรม

3 ระดับ
1. มุม มองข้อ มูล ของผู้ใ ช้ง าน (View of each
user)
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลในแต่ละระดับจะมี DBMS
ทำาหน้าทีแปล(Map) ระดับข้อมูลจากระดับหนึงไป
่
่
อีกระดับหนึง ซึ่ง DBMS จะต้องมีการตรวจสอบ
่
Schema เพื่อให้เกิดความถูกต้องตรงกัน
การMapหรือการแปลระดับข้อมูลจะทำาให้เกิด
ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. ระดับ ความคิด และระดับ ภายนอก : ทำาให้ผู้
ใช้งานฐานข้อมูลสามารถมีมมมองข้อมูลที่แตกต่าง
ุ
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร
Introduction to Database
กัน
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
2. ระดับ แนวคิด และระดับ ภายใน : ทำาให้ผู้ใช้
งานฐานข้อมูลไม่จำาเป็นต้องทราบว่าข้อมูลที่
ต้องการใช้นนถูกจัดเก็บอยูอย่างไรในดิสก์ จะเป็น
ั้
่
หน้าทีของ DBMS ทีจะดูว่าข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการนัน
่
่
้
ถูกจัดเก็บอยู่ ณ ตำาแหน่งใดในดิสก์ แล้วทำาการดึง
ข้อมูลนันจากดิสก์มาให้แก้ผู้ใช้
้
2. ความเป็น อิส ระของข้อ มูล (Data
Independence)
คือ ผู้ใช้ไม่จำาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมทุกครั้งเมื่อมี
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือข้อมูลในระดับ
อ.อัจ
Introduction to Database
แนวคิดและระดัฉราภายใน โดยจะปล่อยให้ DBMS
บ สุมังเกษตร
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
1.ความอิส ระของข้อ มูล ทางลอจิค ัล (Logical
Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลง คือ
การเปลี่ยนแปลงในโครงร่างแนวคิด เช่น การเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลง Attribute หรือ ความสัมพันธ์ใด
ๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อโครงร่างภายนอกทีผู้ใช้ใช้
่
งานอยู่
2.ความอิส ระของข้อ มูล ทางฟิส ิ
คอล(Physical Data Independence) คือ ผล
ของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไฟล์นั้นจะไม่ส่ง
ผลกระทบใด ๆ ต่อ โครงร่างแนวคิดและระดับ
Introduction งลำาดับ
ภายใน เช่น อ.อัจฉรา่ยมังเกษตร
เปลี สุนโครงสร้างไฟล์แบบเรียto Database
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)

External
Schema

External
Schema

xternal/Conceptual
mapping

External
Schema

Logical data Independence
Conceptual
Schema

Conceptual/Internal
mapping

Physical data Independenc
Internal
Schema

วามอิส ระในข้อ มูล และสถาปัอัจยกรรม 3 ระดับ ของ ANSI-SPARCto Database
อ. ต ฉรา สุมังเกษตร
Introduction
สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database
Architecture)
 วัต ถุป ระสงค์ข องการแบ่ง โครงสร้า งฐาน

ข้อ มูล 3 ระดับ
1. ผู้ใช้งานไม่จำาเป็นต้องสนใจในรายละเอียดเกี่ยว
กับโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ไม่ว่าจะจัดเก็บแบบ
เรียงลำาดับ, แบบดัชนี จะปล่อยให้เป็นหน้าทีของ
่
DBMS เป็นตัวจัดการ
2. ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถเข้าถึงข้อมูลชุด
เดียวกัน และแสดงข้อมูลเพียงบางส่วนเท่าทีจำาเป็น
่
โดยไม่ต้องแสดงข้อมูลให้ดทงหมด
ู ั้
3. ความอิสระของข้อมูล คือ ไม่ต้องทำาการแก้ไข
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร
Introduction to Database
โปรแกรมทุกครั้งเมือมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
่
แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models)
 คือ

การนำาแนวความคิดต่าง ๆ มานำาเสนอให้เกิด
เป็นรูปแบบจำาลองเพือใช้สำาหรับการสื่อสารระหว่าง
่
ผู้ออกแบบฐานข้อมลกับผู้ใช้ให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกัน
 ส่ว นประกอบของแบบจำา ลองข้อ มูล แบ่งออก
เป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่ว นโครงสร้า ง (Structural) เป็นส่วนที่
ประกอบด้วยกลุ่มสัญลักษณ์รวมทังกฎระเบียบทีเห็น
้
่
พ้องต้องกันเพื่อใช้ในการสร้างฐานข้อมูล เช่น การ
Introduction to Database
จัดเก็บข้อมูลอ.อัจฉราปมแบบของตาราง ซึ่งประกอบด้วย
ในรู สุ ังเกษตร
แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models)
2. ส่ว นปรับ ปรุง (Manipulative) เป็นส่วนที่
กำาหนดชนิดของการปฏิบัติการต่าง ๆ กับข้อมูล
ประกอบด้วย การUpdate หรือการเรียกดูข้อมูล
จากฐานข้อมูล การเปลี่ยนโครงสร้างฐานข้อมูล ซึ่ง
นิยมใช้ชดคำาสั่ง SQL ในการจัดการกับข้อมูล
ุ
3. ส่ว นกฎความคงสภาพ ( a set of
integrity rules) เป็นกฎเกณฑ์ทใช้ในการ
ี่
ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล เพือให้เกิดความ
่
มันใจในความถูกต้องและความแน่นอนของข้อมูลที่
่
อ.อัจฉรา ม เกษตร
Introduction to Database
บันทึกลงในฐานข้สุอังมูล
แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models)
 จากแบบจำาลองสถาปัตยกรรมของ

ANSI-SPARC
สามารถกำาหนดความสัมพันธ์ของแบบจำาลองข้อมูล
ทัง 3 ได้ดังนี้
้
- แบบจำา ลองข้อ มูล ภายนอก (External Data
Model) จะนำาเสนอการวิวข้อมูลของผู้ใช้งานต่าง
ๆ
- แบบจำา ลองข้อ มูล แนวคิด (Conceptual
Data Model) จะนำาเสนอข้อมูลทางลอจิคัล ที่
แสดงถึงความเป็นอิสระของข้อมูล กับ DBMS
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
การตัดสินใจเลือกใช้แบบจำาลองฐานข้อมูลชนิดใด
เป็นสิงสำาคัญต่อการออกแบบฐานข้อมูล แบบ
่
จำาลองฐานข้อมูลแบ่งออก ดังนี้
 แบบจำา ลอง ข้อ มูล ลำา ดับ ชัน (Hierarchical
้
database model) เป็นสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ทีเก่าแก่ที่สด ไฟล์จะถูกจัดไว้เป็นโครงสร้างแบบ
่
ุ
บนลงล่าง (top-down) มีลักษณะคล้ายต้นไม้
(tree structure) ระดับสูงสุดจะเรียกว่า root
ระดับล่างสุดจะเรียกว่า leaves ไฟล์ต่าง ๆ จะมี
เพียงพ่อเดียว (One Parent) เท่านัน และแตก
้
อ. จฉรา สุมัง ๆ
สาขาออกเป็นอัหลายเกษตรไฟล์ เรียกว่าIntroductionูก Database
ไฟล์ล to
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)

Hierarchical database Model

อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล ลำา ดับ ชั้น

1. มีโครงสร้างทีเข้าใจง่าย ซึ่งเป็นลักษณะต้นไม้
่
(tree)
2. เหมาะกับข้อมูลทีมความสัมพันธ์แบบ one-to่ ี
many
3. ความสามารถในการควบคุมความถูกต้องใน
ข้อมูล
4. เหมาะกับข้อมูลทีมการเรียงลำาดับแบบต่อเนื่อง
่ ี
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล ลำา ดับ ชั้น

1. ไม่สามารถรองรับข้อมูลทีมความสัมพันธ์ใน
่ ี
ลักษณะของ many-to-many
2. มีความยืดหยุ่นน้อย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างมี
ความยุงยาก
่
3. การค้นข้อมูลซึ่งอยูระดับล่าง ๆ จะต้องค้นหาทั้ง
่
แฟ้ม
4. ยากต่อการพัฒนาโปรแกรม
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 แบบจำา ลองข้อ มูล เครือ ข่า ย

(Network
database model) จะใช้พอยน์เตอร์ (pointer)
เป็นตัวโยงความสัมพันธ์ระหว่างเรคคอร์ดในไฟล์
ต่าง ๆ สนับสนุนความสัมพันธ์ทงแบบ one-toั้
many และ many-to-many

อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)

Network database Model
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เครือ ข่า ย

1. สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ many-to-many
2. ความซำ้าซ้อนในข้อมูลเกิดขึ้นน้อยกว่าแบบ
ลำาดับชั้น
3. สามารถเชื่อมโยงข้อมูลแบบไป-กลับได้
4. มีความยืดหยุ่นในด้านของการค้นหาข้อมูลดี
กว่า โดยใช้พอยน์เตอร์ในการเข้าถึงข้อมูลได้ทนที
ั
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เครือ ข่า ย

1. ป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลมีนอย
้
2. สิ้นเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำาในการเก็บพอยน์
เตอร์
3. การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างยังมีความยุ่งยาก
อยู่

อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 แบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง สัม พัน ธ์

(Relational database model) เป็นแบบ
จำาลองทีมความแพร่มากที่สดในปัจจุบัน เพราะนำา
่ ี
ุ
เสนอมุมมองของข้อมูลในลักษณะตารางทำาให้
เข้าใจง่าย ภายในตารางประกอบด้วยแถว (row)
และคอลัมน์ (column), สามารถมีความสัมพันธ์กบ
ั
ตารางอื่น ๆ ได้ ไม่ว่าเป็นแบบ ont-to-many หรือ
แบบ many-to-many และจะใช้คียในการอ้างอิง
์
ถึงตารางอื่น ๆ ที่เกียวข้อง ซึงคียสามารถเป็นได้ทง
่
่
์
ั้
คีย์หลัก(primary มkey) และคีย์รองIntroduction to Database
(secondary
อ.อัจฉรา สุ ังเกษตร
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)

RELATION1(Primary Key,
Attributes…)
RELATION2(Primary Key,
Foreign Key, Attributes…)
Relation database model
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง สัม พัน ธ์

1. มีความเข้าใจและสื่อสารได้เข้าใจง่าย เนื่องจาก
นำาเสนอในลักษณะตาราง 2มิติ
2. สามารถเลือกวิวข้อมูลตามเงื่อนไขได้หลายคีย์
ฟิลด์
3. ความซับซ้อนในข้อมูลมีน้อย
4. มีระบบความปลอดภัยทีดี เพราะผู้ใช้งานจะไม่
่
ทราบถึงกระบวนการจัดเก็บข้อมูลภายในฐาน
ข้อมูล
5. โครงสร้างข้ฉรามูลเกษตรวามอิสระจากโปรแกรม
อ.อัจ อ สุมัง มีค
Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง สัม พัน ธ์

1. มีค่าใช้จ่ายในระบบค่อนข้างสูง เนืองจากใช้
่
ทรัพยากรทีมความสามารถสูง
่ ี
2. แก้ไขปรับปรุงแฟ้มข้อมูลมีความยุ่งยาก
เนืองจากไม่ทราบถึงกระบวนการจัดเก็บข้อมูลใน
่
ฐานข้อมูลทีแท้จริง
่

อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 แบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง วัต ถุ

(ObjectOriented database model) เป็นเทคโนโลยี
ใหม่ของการจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ให้ความ
สนใจด้วยการมองทุกสิ่งเป็นวัตถุ โดยแต่ละวัตถุจะ
เป็นแหล่งรวมของข้อมูลและการปฏิบัติงาน (data
and operation) มีคลาสเป็นตัวกำาหนดคุณสมบัติ
หรือรายละเอียดของวัตถุ รวมทั้งคุณสมบัติการ
ปกปิดความลับของวัตถุ (encapsulation)
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
Object Class 1
Attributes

Object Class 3

Object Class 2
Attributes
Methods

Attributes

Methods

Methods

Object-oriented database model
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง วัต ถุ

1. สามารถจัดการกับข้อมูลชนิดต่าง ๆ ทีมความ
่ ี
สลับซับซ้อนได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นภาพกราฟิก
วิดีโอ และเสียง
2. สนับสนุนคุณสมบัติของการนำากลับมาใช้ใหม่
(Reusable)
 ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง วัต ถุ
- ต้องใช้บุคลากรทีมความรู้ความเชี่ยวชาญ และ
่ ี
ประสบการณ์ในการ
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร
Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
 แบบจำา ลองฐานข้อ มูล มัล ติไ ดเมนชัน

(Multidimensional database model) แบบ
จำาลองชนิดนีใช้งานกับคลังข้อมูล (Data
้
Warehouse) โดยนำาเสนอข้อมูลในลักษณะได
เมนชัน และจัดการข้อมูลในอยูในรูปของมิติ เช่น
่
การนำาข้อมูลผลิตภัณฑ์สินค้า (Product) กับข้อมูล
พืนที่การขาย (Market) มาประมวลเป็นตารางใน
้
รูปแบบของ multidimensional ทำาให้ผู้ใช้
สามารถตัดขวางหรือแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วน ๆ
(Slicing a data สุcube) มาวิเคราะห์ใช้งานได้
อ.อัจฉรา มังเกษตร
Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)

Southeast
New England
Sales

Jan

Feb

Desk
Table
Chair
Multidimensional database model (multidimensional table view)
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร

Introduction to Database
แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database
Models)
Dimension1

Fact Table

Dimension2

Dimension4

Dimension5
Dimensions

Dimension3

Dimension6
Facts

Multidimensionalังเกษตร
อ.อัจฉรา สุม database model (Star-schema view)
Introduction to Database
แบบฝึก หัด เรื่อ งที่ 2 สถาปัต ยกรรมฐาน
ข้อ มูล และแบบจำา ลองข้อ มูล
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

สถาปัตยกรรม ในเชิงคอมพิวเตอร์ศาสตร์หมายถึงอะไร
ระดับใดที่มุ่งเน้นถึงประสิทธิภาพของการเข้าถึงข้อมูลเป็น
สำาคัญ
ระดับใดที่มุ่นเน้นถึงความสะดวกต่อผู้ใช้งานโดยการกระ
ทำาใดๆ ต่อข้อมูลจะไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูล
ระดับใดมุ่งเน้นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลเป็นหลัก
ความอิสระในข้อมูลมีบทบาทสำาคัญอย่างไรต่อการจัดการ
ฐานข้อมูล ล
การแบ่งโครงสร้างฐานข้อมูลออกเป็น 3 ระดับ มีไว้เพื่อ
วัตถุประสงค์ใดเป็นสำาคัญ
จงอธิบายความหมายของแบบจำาลองข้อมูล (Data
Model)
อ.อัจฉรา สุมังเกษตร
Introduction to Database
ส่วนประกอบของแบบจำาลองข้อมูลมีอะไรบ้าง จงอธิบาย

More Related Content

สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล

  • 1. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล และ แบบ จำา ลองข้อ มูล Database Architecture and Data Model Introduction to Database อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 2. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture)  “สถาปัต ยกรรม” จะเป็นการศึกษาถึงโครงสร้าง องค์ประกอบหลักของระบบ และหน้าที่ในแต่ละองค์ ประกอบ รวมทังการสื่อสารหรือการติดต่อกับส่วน ้ อื่น ๆ ทีเกี่ยวข้อง ในระบบฐานข้อมูล โปรแกรม ่ ประยุกต์ไม่ได้ขึ้นอยูกับโครงสร้างข้อมูลทีมการ ่ ่ ี เปลี่ยนแปลงเนื่องจากการจัดโครงสร้างของระบบ ฐานข้อมูล สถาบันANSI-SPARC ( American National Standards Institute : ANSI and Standards Planning and Requirements Committeeอัจฉรา สุมังเกษตร มีการแบ่งระดับของข้อมูล อ. : SPARC) Introduction to Database
  • 3. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) External User3 level Conceptual level User1 View 1 User2 View 2 View n Conceptual Schema Internal level Internal Schema Physical data organization Database อ. Introduction to Database รูป สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูอัจฉราระดับ (The ANSI-SPARC three-level architec ล 3 สุมังเกษตร
  • 4. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture)  ระดับ ภายใน ( Internal Level) เป็นระดับของการจัดเก็บฐานข้อมูลในหน่วยเก็บ ข้อมูลสำารองจริง ๆ ว่ามีโครงสร้างข้อมูลจัดเก็บ อย่างไร (how) ในฐานข้อมูล โดยโครงสร้างข้อมูล ในแต่ละแบบจะมีผลต่อประสิทธิภาพของความเร็ว ในการเข้าถึง (access) ด้วย อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 5. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture)  ระดับ แนวคิด (Conceptual Level) เป็นโครงสร้างหลักของระบบโดยรวม เป็นระดับ ของการออกแบบฐานข้อมูล ว่าจะเก็บข้อมูลอะไร (what) และมุงเน้นความสัมพันธ์ (relationship) ่ ระหว่างข้อมูล ผลลัพธ์ทได้จะทำาให้เกิดสิงทีเรียกว่า ี่ ่ ่ Schema (มุมมองระบบ) ในระดับนีจะเรียกว่า ้ Conceptual Schema อธิบายว่า ฐานข้อมูลที่ สร้างประกอบด้วยEntityอะไรบ้าง แต่ละEntity ประกอบด้วยเขตข้อมูล(Attribute)ใดบ้าง และ ความสัมพันธ์(Relationship)แต่ละEntityเป็น อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database อย่างไร
  • 6. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) : การกำาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ตาราง แบ่งออกเป็น 1. ความสัม พัน ธ์แ บบหนึง ต่อ หนึง (one-to่ ่ one relationship) : เป็นความสัมพันธ์ ระหว่างentityหนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับ อีกentityหนึ่งเพียงหนึ่งรายการเท่านั้น เช่น 1 พนักงาน(Staff) หนึ่งคนจะดูแลหนึงสาขา ในขณะ ่ 1 Staff Manages Branch ทีสาขาจะมีหัวหน้าพนักงานดูแลได้เพียงหนึงคน ่ ่  Relationship รูปความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 7. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) 2. ความสัม พัน ธ์แ บบหนึง ต่อ กลุ่ม (one-to่ many relationship) : เป็นความสัมพันธ์ ระหว่าง entity หนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีก entity หนึ่งมากกว่าหนึ่งรายการ เช่น สาขาหนึง ่ จะมีพนักงานอยู่หลายคน โดยที่พนักงานหลาย ๆ คนจะสังกัดอยู่หนึ่งสาขา Branch 1 Is Allocated M Staff รูปความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 8. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) 3. ความสัม พัน ธ์แ บบกลุ่ม ต่อ กลุ่ม (many-tomany relationship) : เป็นความสัมพันธ์แบบ หลายรายการระหว่างentityทังสอง เช่น บ้านเช่า ้ หลาย ๆ หลังสามารถประกาศโฆษณาลงใน หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับได้ ในขณะที่ N หนัNewspaper หลายฉบับก็สามารถลงโฆษณาบ้าน งสือพิมพ์ M Is Allocated Property_for _Rent เช่าได้หลายหลังเช่นกัน รูปความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 9. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture)  ระดับ ภายนอก (External Level) เป็นระดับการมองหรือวิว(View)ของข้อมูลภายใน ฐานข้อมูลสำาหรับผู้ใช้งานแต่ละคน เป็นระดับทีมี ่ การนำาข้อมูลจากฐานข้อมูลไปใช้งาน โดยผู้ใช้ แต่ละคนสามารถเลือกอ่านข้อมูลเฉพาะที่ตนสนใจ หรือต้องการใช้เท่านั้น วิวของข้อมูลจะถูกดึงมา จาก Conceptual Schema และสิ่งทีใช้อธิบายวิว ่ ข้อมูลทีถูกดึงมาจากฐานข้อมูลทีอยู่ในระดับ ่ ่ Conceptual นีจะเรียกว่า External Schema ้ อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database หรือ Subschema(มุมมองผู้ใช้งาน) ซึงสามารถมี ่
  • 10. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture)  ประโยชน์ข องสถาปัต ยกรรม 3 ระดับ 1. มุม มองข้อ มูล ของผู้ใ ช้ง าน (View of each user) สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลในแต่ละระดับจะมี DBMS ทำาหน้าทีแปล(Map) ระดับข้อมูลจากระดับหนึงไป ่ ่ อีกระดับหนึง ซึ่ง DBMS จะต้องมีการตรวจสอบ ่ Schema เพื่อให้เกิดความถูกต้องตรงกัน การMapหรือการแปลระดับข้อมูลจะทำาให้เกิด ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ระดับ ความคิด และระดับ ภายนอก : ทำาให้ผู้ ใช้งานฐานข้อมูลสามารถมีมมมองข้อมูลที่แตกต่าง ุ อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database กัน
  • 11. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) 2. ระดับ แนวคิด และระดับ ภายใน : ทำาให้ผู้ใช้ งานฐานข้อมูลไม่จำาเป็นต้องทราบว่าข้อมูลที่ ต้องการใช้นนถูกจัดเก็บอยูอย่างไรในดิสก์ จะเป็น ั้ ่ หน้าทีของ DBMS ทีจะดูว่าข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการนัน ่ ่ ้ ถูกจัดเก็บอยู่ ณ ตำาแหน่งใดในดิสก์ แล้วทำาการดึง ข้อมูลนันจากดิสก์มาให้แก้ผู้ใช้ ้ 2. ความเป็น อิส ระของข้อ มูล (Data Independence) คือ ผู้ใช้ไม่จำาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมทุกครั้งเมื่อมี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือข้อมูลในระดับ อ.อัจ Introduction to Database แนวคิดและระดัฉราภายใน โดยจะปล่อยให้ DBMS บ สุมังเกษตร
  • 12. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) 1.ความอิส ระของข้อ มูล ทางลอจิค ัล (Logical Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลง คือ การเปลี่ยนแปลงในโครงร่างแนวคิด เช่น การเพิ่ม การเปลี่ยนแปลง Attribute หรือ ความสัมพันธ์ใด ๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อโครงร่างภายนอกทีผู้ใช้ใช้ ่ งานอยู่ 2.ความอิส ระของข้อ มูล ทางฟิส ิ คอล(Physical Data Independence) คือ ผล ของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไฟล์นั้นจะไม่ส่ง ผลกระทบใด ๆ ต่อ โครงร่างแนวคิดและระดับ Introduction งลำาดับ ภายใน เช่น อ.อัจฉรา่ยมังเกษตร เปลี สุนโครงสร้างไฟล์แบบเรียto Database
  • 13. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture) External Schema External Schema xternal/Conceptual mapping External Schema Logical data Independence Conceptual Schema Conceptual/Internal mapping Physical data Independenc Internal Schema วามอิส ระในข้อ มูล และสถาปัอัจยกรรม 3 ระดับ ของ ANSI-SPARCto Database อ. ต ฉรา สุมังเกษตร Introduction
  • 14. สถาปัต ยกรรมฐานข้อ มูล (Database Architecture)  วัต ถุป ระสงค์ข องการแบ่ง โครงสร้า งฐาน ข้อ มูล 3 ระดับ 1. ผู้ใช้งานไม่จำาเป็นต้องสนใจในรายละเอียดเกี่ยว กับโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ไม่ว่าจะจัดเก็บแบบ เรียงลำาดับ, แบบดัชนี จะปล่อยให้เป็นหน้าทีของ ่ DBMS เป็นตัวจัดการ 2. ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถเข้าถึงข้อมูลชุด เดียวกัน และแสดงข้อมูลเพียงบางส่วนเท่าทีจำาเป็น ่ โดยไม่ต้องแสดงข้อมูลให้ดทงหมด ู ั้ 3. ความอิสระของข้อมูล คือ ไม่ต้องทำาการแก้ไข อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database โปรแกรมทุกครั้งเมือมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ่
  • 15. แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models)  คือ การนำาแนวความคิดต่าง ๆ มานำาเสนอให้เกิด เป็นรูปแบบจำาลองเพือใช้สำาหรับการสื่อสารระหว่าง ่ ผู้ออกแบบฐานข้อมลกับผู้ใช้ให้เกิดความเข้าใจ ตรงกัน  ส่ว นประกอบของแบบจำา ลองข้อ มูล แบ่งออก เป็น 3 ส่วน คือ 1. ส่ว นโครงสร้า ง (Structural) เป็นส่วนที่ ประกอบด้วยกลุ่มสัญลักษณ์รวมทังกฎระเบียบทีเห็น ้ ่ พ้องต้องกันเพื่อใช้ในการสร้างฐานข้อมูล เช่น การ Introduction to Database จัดเก็บข้อมูลอ.อัจฉราปมแบบของตาราง ซึ่งประกอบด้วย ในรู สุ ังเกษตร
  • 16. แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models) 2. ส่ว นปรับ ปรุง (Manipulative) เป็นส่วนที่ กำาหนดชนิดของการปฏิบัติการต่าง ๆ กับข้อมูล ประกอบด้วย การUpdate หรือการเรียกดูข้อมูล จากฐานข้อมูล การเปลี่ยนโครงสร้างฐานข้อมูล ซึ่ง นิยมใช้ชดคำาสั่ง SQL ในการจัดการกับข้อมูล ุ 3. ส่ว นกฎความคงสภาพ ( a set of integrity rules) เป็นกฎเกณฑ์ทใช้ในการ ี่ ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล เพือให้เกิดความ ่ มันใจในความถูกต้องและความแน่นอนของข้อมูลที่ ่ อ.อัจฉรา ม เกษตร Introduction to Database บันทึกลงในฐานข้สุอังมูล
  • 17. แบบจำา ลองข้อ มูล (Data Models)  จากแบบจำาลองสถาปัตยกรรมของ ANSI-SPARC สามารถกำาหนดความสัมพันธ์ของแบบจำาลองข้อมูล ทัง 3 ได้ดังนี้ ้ - แบบจำา ลองข้อ มูล ภายนอก (External Data Model) จะนำาเสนอการวิวข้อมูลของผู้ใช้งานต่าง ๆ - แบบจำา ลองข้อ มูล แนวคิด (Conceptual Data Model) จะนำาเสนอข้อมูลทางลอจิคัล ที่ แสดงถึงความเป็นอิสระของข้อมูล กับ DBMS อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 18. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) การตัดสินใจเลือกใช้แบบจำาลองฐานข้อมูลชนิดใด เป็นสิงสำาคัญต่อการออกแบบฐานข้อมูล แบบ ่ จำาลองฐานข้อมูลแบ่งออก ดังนี้  แบบจำา ลอง ข้อ มูล ลำา ดับ ชัน (Hierarchical ้ database model) เป็นสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล ทีเก่าแก่ที่สด ไฟล์จะถูกจัดไว้เป็นโครงสร้างแบบ ่ ุ บนลงล่าง (top-down) มีลักษณะคล้ายต้นไม้ (tree structure) ระดับสูงสุดจะเรียกว่า root ระดับล่างสุดจะเรียกว่า leaves ไฟล์ต่าง ๆ จะมี เพียงพ่อเดียว (One Parent) เท่านัน และแตก ้ อ. จฉรา สุมัง ๆ สาขาออกเป็นอัหลายเกษตรไฟล์ เรียกว่าIntroductionูก Database ไฟล์ล to
  • 19. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) Hierarchical database Model อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 20. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล ลำา ดับ ชั้น 1. มีโครงสร้างทีเข้าใจง่าย ซึ่งเป็นลักษณะต้นไม้ ่ (tree) 2. เหมาะกับข้อมูลทีมความสัมพันธ์แบบ one-to่ ี many 3. ความสามารถในการควบคุมความถูกต้องใน ข้อมูล 4. เหมาะกับข้อมูลทีมการเรียงลำาดับแบบต่อเนื่อง ่ ี อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 21. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล ลำา ดับ ชั้น 1. ไม่สามารถรองรับข้อมูลทีมความสัมพันธ์ใน ่ ี ลักษณะของ many-to-many 2. มีความยืดหยุ่นน้อย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างมี ความยุงยาก ่ 3. การค้นข้อมูลซึ่งอยูระดับล่าง ๆ จะต้องค้นหาทั้ง ่ แฟ้ม 4. ยากต่อการพัฒนาโปรแกรม อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 22. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  แบบจำา ลองข้อ มูล เครือ ข่า ย (Network database model) จะใช้พอยน์เตอร์ (pointer) เป็นตัวโยงความสัมพันธ์ระหว่างเรคคอร์ดในไฟล์ ต่าง ๆ สนับสนุนความสัมพันธ์ทงแบบ one-toั้ many และ many-to-many อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 23. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) Network database Model อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 24. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เครือ ข่า ย 1. สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ many-to-many 2. ความซำ้าซ้อนในข้อมูลเกิดขึ้นน้อยกว่าแบบ ลำาดับชั้น 3. สามารถเชื่อมโยงข้อมูลแบบไป-กลับได้ 4. มีความยืดหยุ่นในด้านของการค้นหาข้อมูลดี กว่า โดยใช้พอยน์เตอร์ในการเข้าถึงข้อมูลได้ทนที ั อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 25. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เครือ ข่า ย 1. ป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลมีนอย ้ 2. สิ้นเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำาในการเก็บพอยน์ เตอร์ 3. การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างยังมีความยุ่งยาก อยู่ อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 26. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  แบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง สัม พัน ธ์ (Relational database model) เป็นแบบ จำาลองทีมความแพร่มากที่สดในปัจจุบัน เพราะนำา ่ ี ุ เสนอมุมมองของข้อมูลในลักษณะตารางทำาให้ เข้าใจง่าย ภายในตารางประกอบด้วยแถว (row) และคอลัมน์ (column), สามารถมีความสัมพันธ์กบ ั ตารางอื่น ๆ ได้ ไม่ว่าเป็นแบบ ont-to-many หรือ แบบ many-to-many และจะใช้คียในการอ้างอิง ์ ถึงตารางอื่น ๆ ที่เกียวข้อง ซึงคียสามารถเป็นได้ทง ่ ่ ์ ั้ คีย์หลัก(primary มkey) และคีย์รองIntroduction to Database (secondary อ.อัจฉรา สุ ังเกษตร
  • 27. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) RELATION1(Primary Key, Attributes…) RELATION2(Primary Key, Foreign Key, Attributes…) Relation database model อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 28. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง สัม พัน ธ์ 1. มีความเข้าใจและสื่อสารได้เข้าใจง่าย เนื่องจาก นำาเสนอในลักษณะตาราง 2มิติ 2. สามารถเลือกวิวข้อมูลตามเงื่อนไขได้หลายคีย์ ฟิลด์ 3. ความซับซ้อนในข้อมูลมีน้อย 4. มีระบบความปลอดภัยทีดี เพราะผู้ใช้งานจะไม่ ่ ทราบถึงกระบวนการจัดเก็บข้อมูลภายในฐาน ข้อมูล 5. โครงสร้างข้ฉรามูลเกษตรวามอิสระจากโปรแกรม อ.อัจ อ สุมัง มีค Introduction to Database
  • 29. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง สัม พัน ธ์ 1. มีค่าใช้จ่ายในระบบค่อนข้างสูง เนืองจากใช้ ่ ทรัพยากรทีมความสามารถสูง ่ ี 2. แก้ไขปรับปรุงแฟ้มข้อมูลมีความยุ่งยาก เนืองจากไม่ทราบถึงกระบวนการจัดเก็บข้อมูลใน ่ ฐานข้อมูลทีแท้จริง ่ อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 30. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  แบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง วัต ถุ (ObjectOriented database model) เป็นเทคโนโลยี ใหม่ของการจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ให้ความ สนใจด้วยการมองทุกสิ่งเป็นวัตถุ โดยแต่ละวัตถุจะ เป็นแหล่งรวมของข้อมูลและการปฏิบัติงาน (data and operation) มีคลาสเป็นตัวกำาหนดคุณสมบัติ หรือรายละเอียดของวัตถุ รวมทั้งคุณสมบัติการ ปกปิดความลับของวัตถุ (encapsulation) อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 31. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) Object Class 1 Attributes Object Class 3 Object Class 2 Attributes Methods Attributes Methods Methods Object-oriented database model อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 32. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  ข้อ ดีข องแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง วัต ถุ 1. สามารถจัดการกับข้อมูลชนิดต่าง ๆ ทีมความ ่ ี สลับซับซ้อนได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นภาพกราฟิก วิดีโอ และเสียง 2. สนับสนุนคุณสมบัติของการนำากลับมาใช้ใหม่ (Reusable)  ข้อ เสีย ของแบบจำา ลองฐานข้อ มูล เชิง วัต ถุ - ต้องใช้บุคลากรทีมความรู้ความเชี่ยวชาญ และ ่ ี ประสบการณ์ในการ อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 33. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models)  แบบจำา ลองฐานข้อ มูล มัล ติไ ดเมนชัน (Multidimensional database model) แบบ จำาลองชนิดนีใช้งานกับคลังข้อมูล (Data ้ Warehouse) โดยนำาเสนอข้อมูลในลักษณะได เมนชัน และจัดการข้อมูลในอยูในรูปของมิติ เช่น ่ การนำาข้อมูลผลิตภัณฑ์สินค้า (Product) กับข้อมูล พืนที่การขาย (Market) มาประมวลเป็นตารางใน ้ รูปแบบของ multidimensional ทำาให้ผู้ใช้ สามารถตัดขวางหรือแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วน ๆ (Slicing a data สุcube) มาวิเคราะห์ใช้งานได้ อ.อัจฉรา มังเกษตร Introduction to Database
  • 34. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) Southeast New England Sales Jan Feb Desk Table Chair Multidimensional database model (multidimensional table view) อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database
  • 35. แบบจำา ลองฐานข้อ มูล (Database Models) Dimension1 Fact Table Dimension2 Dimension4 Dimension5 Dimensions Dimension3 Dimension6 Facts Multidimensionalังเกษตร อ.อัจฉรา สุม database model (Star-schema view) Introduction to Database
  • 36. แบบฝึก หัด เรื่อ งที่ 2 สถาปัต ยกรรมฐาน ข้อ มูล และแบบจำา ลองข้อ มูล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. สถาปัตยกรรม ในเชิงคอมพิวเตอร์ศาสตร์หมายถึงอะไร ระดับใดที่มุ่งเน้นถึงประสิทธิภาพของการเข้าถึงข้อมูลเป็น สำาคัญ ระดับใดที่มุ่นเน้นถึงความสะดวกต่อผู้ใช้งานโดยการกระ ทำาใดๆ ต่อข้อมูลจะไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างข้อมูล ระดับใดมุ่งเน้นถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลเป็นหลัก ความอิสระในข้อมูลมีบทบาทสำาคัญอย่างไรต่อการจัดการ ฐานข้อมูล ล การแบ่งโครงสร้างฐานข้อมูลออกเป็น 3 ระดับ มีไว้เพื่อ วัตถุประสงค์ใดเป็นสำาคัญ จงอธิบายความหมายของแบบจำาลองข้อมูล (Data Model) อ.อัจฉรา สุมังเกษตร Introduction to Database ส่วนประกอบของแบบจำาลองข้อมูลมีอะไรบ้าง จงอธิบาย