ออสเตรลีย
- 1. บทที่ ٧ สภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ
ของทวีปออสเตรลีย
1.ความหมายของทวีปออสเตรลียและโอเชียเนีย
1.1 ทวีปออสเตรลีย ( Australia ) เป็นทวีปที่มีขนาด
เล็กที่สุด ( ٧.٧ ล้าน ตารางกิโลเมตร ) พื้นที่ส่วนใหญ่
อยูในเขตซีกโลกใต้ และเป็นที่ตั้งของประเทศ
่
ออสเตรลีย ( บางตำาราได้รวมเกาะ ٢ เกาะของประเทศ
นิวซีแลนด์ ไว้ด้วย )
1.2 โอเชียเนีย ( Oceania ) หมายถึง ดินแดนทีประกอบ ่
ด้วยประเทศออสเตรลีย นิวซีแลนด์และหมู่เกาะน้อย
ใหญ่ในมหาสมุทรแปซิฟิก รวม ١٤ ประเทศ พื้นที่ดิน
แดนโอเชียเนียทั้งหมดมีประมาณ ٨.٥ ล้านตารา
กิโลเมตร บางทีเรียกรวมกันว่า “ ทวีปออสเตรลียและ
โอเชียเนีย ”
2.ที่ตั้งอาณาเขต และประเทศสำาคัญ
2.1 ที่ตั้ง เนื่องด้วยทวีปออสเตรลียและโอเชียเนีย
ประกอบด้วยหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก
จำานวนมาก ทำาให้ไม่อาจกำาหนดที่ตั้งตามพิกัดทาง
ภูมิศาสตร์ให้ชัดเจนได้ แต่อาจประมาณได้ ดังนี้
1) ตำาแหน่งละติจูด ตั้งแต่ละติจูดที่ ٢٠ องศาเหนือ จนถึง
ละติจูดที่ ٥٠ องศาใต้
2) ตำาแหน่งลองจิจูด ตั้งแต่ลองจิจูดที่ ١١٥ องศาตะวันออก
จนถึงลองจิจูดที่ ١٧٠ องศาตะวันตก
2.2 ประเทศในทวีปออสเตรลียและโอเชียเนีย ประกอบ
ด้วยประเทศต่าง ๆ ١٤ ประเทศ ได้แก่ ออสเตรลีย,
นิวซีแลนด์, ปาปัวนิวกินี, ฟิจิ, วานูอาตู, ซามัว,
ตองกา, ไมโครนีเซีย, คิริบาส, ปาเลา, ตูวาลู,
นาอูร, หมู่เกาะโซโลมอน และหมู่เกาะมาร์แชลส์
ู
ประเทศ
ออสเตรลีย
- 2. 3.ประวัติความเป็Ȩา
3.1 นักเดินเรือชาวดัตช์ ( เนเธอร์แลนด์ ) เป็นชาติ
แรกที่เข้ามาสำารวจทวีปออสเตรลีย ตั้งแต่คริสต์
ศตวรรษที่ ١٧ เป็นต้นมา โดยเดินทางทยอยกันเข้ามา
หลายครั้ง วึงต่อมาได้เรียกดินแดนแห่งนีว่า “ นิว
่ ้
ฮอลแลนด์ ” ( New Holland )
3.2 นักเดินเรือชาวอังกฤษได้รับยกย่องให้เป็นผู้คนพบ ้
“ ทวีปออสเตรลีย ” อย่างแท้จริง คือ “ กับตันเจมส์
คุก ” ( James Cook ) เมื่อ พ.ศ. ٢٣١٢ ต่อมาได้ยึด
ครองดินแดนชายฝั่งตะวันออกของทวีปที่มีความอุดม
สมบูรณ์ให้เป็นอาณานิคมของอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. ٢
٣١٥
3.3 การตั้งถิ่นฐานของชาวอังกฤษในทวีปออสเตรลีย
ชาวอังกฤษรุ่นแรกที่รัฐบาลส่งเข้ามาตั้งถินฐานเมื่อปี
่
พ.ศ. ٢٣٣١ เป็นนักโทษ ต่อมามีชาวอังกฤษในสาขา
อาชีพต่าง ๆ และนักเผชิญโชคทยอยกันอพยพเข้ามา
มากขึ้น โดยเฉพาะในยุคตื่นทอง ซึ่งมีการค้นพบแหล่ง
แร่ทองทำาในพื้นที่ต่าง ๆ
4.ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของประเทศออสเตรลีย แบ่งเป็น ٣ เขต
ดังนี้
4.1 เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันออก มีแนวเทือกเขาเกร
ตดิไวดิง ( Great Dividing Range ) ขนานกับ
ชายฝั่งด้านตะวันออกของทวีป มีความยาวนับหมื่น ๆ
กิโลเมตร
4.2 เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก มีพื้นที่
ครอบคลุมเกือบครึ่งหนึ่งของประเทศ
1) พื้นที่ตอนบนของภาคเป็นเขตที่ราบสูง เช่น ทีราบสูงคิม
่
เบอร์ลีย์ ( Kimberley )
2) พื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของภาคเป็นทะเลทรายกว้าง
ขวางหลายแห่ง เช่น ทะเลทรายเกรวิกตอเรีย ( Great
Victoria ) และทะเลทรายเกรตแซนดี ( Great Sandy )
เป็นต้น
- 3. 4.3 เขตที่ราบภาคกลาง มีลักษณะเป็นที่ราบตำ่าและทีราบ ่
ลุมแม่นำ้าบริเวณภาคกลางของทวีปมีพื้นที่ประมาณ ١
่
ใน ٣ ของประเทศ ได้แก่ ทีราบลุ่มแม่นำ้าเมอร์เลย์
่
และดาร์ลิง ( Murray and Darling ), ทีราบรอบ
่
ทะเลสาบแอร์ ( Eyre ) และที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตา
เรีย ( Carpentaria ) ทางตอนเหนือของทวีป
5.ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของประเทศออสเตรลีย เฉพาะทีสำาคัญ มี
่
ดังนี้
5.1 เขตภูมิอากาศอบอุ่น ได้แก่ พื้นที่ชายฝั่งทางตะวัน
ออกเฉียงใต้ของประเทศ ในเขตรัฐวิกตอเรียและรัฐ
นิวเซาท์เวลส์ รวมทั้งเกาะแทสเมเนีย ซึ่งเป็นเกาะทาง
ทิศใต้ของประเทศ มีอากาศอบอุ่นชื้นและมีฝนตกเกือบ
ตลอดปี เป็นเขตที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยู่อย่างหนา
แน่น
5.2 เขตภูมิอากาศแบบทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย
ได้แก่ พื้นที่ภาคตะวันตกและตอนกลางภายในของทวีป
ครอบคลุมพื้นที่กว่าครึ่งหนึงของประเทศ มีอากาศร้อน
่
แห้งแล้ง มีอุณหภูมิสูง และมีปริมาณฝนน้อย
6.ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศออสเตรลีย สรุปได้ดังนี้
6.1 ทรัพยากรนำ้า แหล่งนำ้าเพื่อการอุปโภคและบริโภค
และการชลประทานเพื่อการเกษตรที่สำาคัญ คือ แม่นำ้าเม
อร์เรย์และดาร์ลิง ในเขตที่ราบภาคกลางของประเทศ
เป็นแม่นำ้าที่มีความยาวและมีปริมาณนำ้ามาก
6.2 ทรัพยากรแร่ธาตุ แร่ธาตุที่มีมาก คือ แร่บอกไซด์ (
สินแร่อะลูมินม ) และแร่เชื้อเพลิงที่สำาคัญ คือ ถ่านหิน
ั
ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าของประเทศ รอง
ลงมาเป็นก๊าซธรรมชาติ
6.3 ทรัพยากรป่าไม้ มีป่าไม้หลายชนิดและขึ้นกระจาย
เป็นหย่อม ๆ ในรัฐต่างๆ เช่น เขตภูมิอากาศอบอุ่นชื้น
ทางชายฝั่งตะวันออก เป็นป่าไม้ยูคาลิปตัส และบน
เกาะแทสเมเนีย เป็นป่าไม้ผลัดใบเนื้อแข็ง เป็นต้น
6.4 ทรัพยากรสัตว์ป่า มีสัตว์ป่าท้องถิ่น คือ จิงโจ้ หมีโค
ลา และนกอีมู
- 4. 6.5 ทรัพยากรสัตว์นำ้า มีแหล่งประมงทางทะเลในน่านนำ้า
ชายฝั่งตะวันออกของประเทศ
6.6 ทรัพยากรนันทนาการ มีแนวปะการังที่ใหญ่ที่สุดของ
โลก คือ เกรตแบริเออร์รฟ ( Great Barrier Reef )
ี
ขนานกับชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
มีความยาวประมาณ ٢,٥٠٠ กิโลเมตร เป็นแหล่งท่อง
เที่ยวทางธรรมชาติที่สำาคัญ
ประเทศ
นิวซีแลนด์
7.ที่ตั้งและอาณาเขต
7.1 นิวซีแลนด์ ( New ZeaLand ) เป็นประเทศหมู่
เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประกอบ
ด้วยเกาะใหญ่ ٢ เกาะ คือ เกาะเหนือและเกาะใต้ มี
พื้นที่ประมาณ ٢٦٨,٦٧٦ ตารางกิโลเมตร
7.2 ที่ตั้งตามพิกัดทางภูมิศาสตร์ คือ ตั้งอยู่ระหว่าง
ละติจูดที่ ٤٧-٣٤ องศาใต้ และลองจิจูดที่ ١٧٨-١٦٦
องศาตะวันออก
8.ประวัติความเป็นมา
ประเทศนิวซีแลนด์ มีประวัติความเป็นมาโดยสังเขป ดังนี้
8.1 นักสำารวจทางทะเลชาวดัตช์ เป็นผู้คนพบ เมื่อ
้
ประมาณ พ.ศ. ٢١٨٥ โดยตั้งชื่อเกาะที่พบว่า “
นิวซีแลนด์ ” ตามชื่อจังหวัดซีแลนด์ ในประเทศ
เนเธอร์แลนด์ของตน
8.2 อังกฤษเข้าครอบครองนิวซีแลนด์ เมื่อ พ.ศ. ٢٣٨٣
โดยกัปตันวิลเลียม ฮอบสัน ( William Hopson )
นักเดินเรือชาวอังกฤษได้อ้างสิทธิเป็นเจ้าของดินแดน
เกาะทั้งสองนี้ โดยความยินยอมของผู้นำาชนเผ่าพื้น
เมืองเมารี ต่อมามีชาวอังกฤษอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน
มากขึ้น
8.3 ผู้คนในนิวซีแลนด์ได้รับสิทธิปกครองตนเองใน
ฐานะเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตั้งแต่ พ.ศ. ٢
٣٨٩ โดยมีข้าหลวงใหญ่จากอังกฤษเป็นผู้ปกครอง
จนกระทั่งใน พ.ศ. ٢٣٩٩ จึงมีอิสระในการบริหารและ
- 5. ปกครองตนเองมากขึ้น และเปลียนฐานะเป็นประเทศ
่
เอกราชในเครือจักรภพของอังกฤษในเวลาต่อมา
9.ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของนิวซีแลนด์ สรุปได้ดังนี้
9.1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ประมาณ ٣ ใน ٤ ของพื้นที่
ประเทศเป็นภูเขา ( ทังเกาะเหนือและเกาะใต้ ) นอก
้
นั้นเป็นที่ราบลุมแม่นำ้าและที่ราบชายฝั่งทะเลแคบ ๆ
่
9.2 เกาะเหนือ มีภูเขาสูงจำานวนมาก ส่วนใหญ่เป็น
ภูเขาไฟที่ดับแล้ว โดยมีภูเขาไฟที่ยังทรงพลังอยู่อีก
หลายลูก ทีทะเลสาบบริเวณปากปล่องภูเขาไฟ และ
ทีราบลุ่มแม่นำ้าแคบ ๆ อีกหลายแห่ง
่
9.3 เกาะใต้ มีลักษณะภูมิประเทศคล้ายกับคาบสมุทร
สแกนดิเนเวียในทวีปยุโรป กล่าวคือ มีชายฝั่งทะเล
แบบฟยอร์ด ( Fjord ) เป็นหุบเขาธารนำ้าแข็งทีมีหน้า
่
ผาสูงชันใกล้ชายฝั่ง คล้ายกับอ่าวแคบ ๆ โดยมีเทือก
เขาแอลป์ใต้เป็นแกนกลางของเกาะ
10.ลักษณะภูมิอากาศ
สรุปลักษณะภูมิอากาศของนิวซีแลนด์ได้ ดังนี้
10.1 พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตภูมิอากาศอบอุ่นทางซีก
โลกใต้ โดยได้รับอิทธิพลความชื้นจากทะเล ทำาให้มี
ฝนตกตลอดปี ฤดูร้อนของทั้งเกาะเหนือและเกาะใต้มี
อากาศอบอุ่น ส่วนฤดูหนาวเกาะเหนือไม่หนาวมากนัก
แต่เกาะใต้มีอากาศหนาวเย็นและมีหิมะตกในเขตภูเขา
สูง
10.2 เขตภูมิอากาศแบบภูเขา เป็นลักษณะภูมิอากาศบน
ยอดเขาสูง ( โดยเฉพาะในเกาะใต้ ) มีอากาศหนาว
เย็น มีหิมะหรือธารนำ้าแข็งปกคลุมตลอดปี บริเวณเชิง
เขาเป็นป่าสน
11.ทรัพยากรธรรมชาติ
นิวซีแลนด์มทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญ ดังนี้
ี
11.1 ทรัพยากรป่าไม้ ในปัจจุบัน นิวซีแลนด์มีพื้นที่ป่าไม้
ประมาณ ١ ใน ٤ ของพื้นที่ประเทศส่วนใหญ่เป็นป่าไม้
ผลัดใบและป่าฝนเขตอบอุ่น ซึ่งมีพันธุ์ไม้ประจำาท้องถิ่น
หลายชนิด ในเขตภูเขาสูงจะพบป่าสนมากมายหลาย
ชนิด
- 6. 11.2 ทรัพยากรนำ้า นิวซีแลนด์มีปริมาณฝนมากจึงมีแหล่ง
นำ้าตามธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ทังแม่นำ้าและทะเลสาบ
้
มีการสร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าพลังนำ้าหลายแห่ง
11.3 ทรัพยากรแร่ธาตุ มีเพียงเล็กน้อย ได้แก่ ถ่านหิน
ก๊าซธรรมชาติ เหล็ก และหินปูน
11.4 ทรัพยากรสัตว์นำ้า มีแหล่งประมงทางทะเลในน่านนำ้า
รอบ ๆ เกาะ
11.5 ทรัพยากรสัตว์ป่า สัตว์ประจำาท้องถิ่น คือ นกกีวี
( Kiwi ) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของประเทศ
ประเทศในหมูเกาะ ่
มหาสมุทรแปซิฟิก
12.ลักษณะสำาคัญของประเทศในหมู่เกาะมหาสมุทร
แปซิฟิก
12.1 ที่ตั้ง ประเทศในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก หรือดิน
แดนโอเชียเนีย ( Oceania ) มีพนทีรวมกันประมาณ ٥
ื้ ่
٣٦,٣٠٨ ตารางกิโลเมตร และมีประชากรรวมกันประมาณ ٧
.٥ ล้านคน
12.2 กลุมของหมูเกาะในโอเชียเนีย จำาแนกได้เป็น ٣ กลุม
่ ่ ่
ซึงประกอบด้วยประเทศเอกราช ١٢ ประเทศ ดังนี้
่
1) ไมโครนีเซีย ( Micronesia ) หมายถึง หมูเกาะขนาดเล็กใน
่
มหาสมุทรแปซิฟกทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สตร มีพนทีรวม
ิ ู ื้ ่
กันประมาณ ٨,٣٢٨ ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยประเทศ
เอกราช ٥ ประเทศ ได้แก่ สหพันธรัฐไมโครนนีเซีย ,
สาธารณรัฐหมูเกาะมาร์แซล, สาธารณรัฐนาอูร, สาธารณรัฐ
่ ู
ปาเลา, และสาธารณรัฐคิรบาติ ( หรือคิรบาส )
ิ ี
2) เมลานีเซีย ( Melanesia ) เป็นหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก
่ ิ
ทางตอนใต้ของเส้นศูนย์สตร มีพนทีรวมกันประมาณ ٥٢٤,
ู ื้ ่
٣٠٦ ตารางกิโลเมตร ประกอบประเทศเอกราช ٤ ประเทศ
ได้แก่ ปาปัว-นิวกิน, หมูเกาะโซโลมอน, สาธารณรัฐวานูอาตู
ี ่
และสาธารณรัฐฟิจิ
3) โปลินเซีย ( Polynesia ) เป็นหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก
ี ่ ิ
ทีอยูหางจากทวีปออสเตรลียมากทีสด มีพนทีประมาณ ٣,
่ ่ ่ ่ ุ ื้ ่
٦٧٤ ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยประเทศเอกราช ٣
- 7. ประเทศ ได้แก่ ตูวาลู, ราชอาณาจักรตองกา และรัฐเอกราช
ซามัว
13.ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของประเทศในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก
โดยสรุปมีดังนี้
13.1 ที่ตั้งของหมู่เกาะส่วนใหญ่อยู่ตามแนวรอยต่อของ
เปลือกโลก มีการบีบอัดของเปลือกโลกจนกลายเป็น
เทือกเขาสูงในเกาะต่าง ๆ มีหินที่มีอายุน้อยและมี
ภูเขาไฟที่ยังทรงพลังอีกหลายแห่ง ดังนั้น โอกาสที่จะ
เกิดปรากฏการณ์ของแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดจึง
มีได้เสมอ
13.2 หมู่เกาะภูเขาไฟ มีเกาะเล็ก ๆ จำานวนมากเกิดจากการ
ปะทุของภูเขาไฟจากพื้นมหาสมุทรแปซิฟิก จนเกิดเป็น
ยอดเขาสูงโผล่พ้นจากระดับนำ้าทะเล และเกิดมีแนว
ปะการังรอบ ๆ เกาะ เช่น หมู่เกาะประเทศฟิจิ
14.ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศของประเทศในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก สรุปได้
ดังนี้
14.1 ตั้งอยู่ในเขตภูมิอากาศร้อนชื้น มีฝนตกชุกเกือบ
ตลอดปี มีปริมาณฝนสูง เฉลี่ยประมาณ ٣,٠٠٠
มิลลิเมตรต่อปี อากาศไม่ร้อนมากนัก เนื่องจากได้รับ
อิทธิพลความชื้นจากทะเล
14.2 ฤดูกาลมีเด่นชัดเพียง ٢ ฤดู คือ ฤดูร้อนกับฤดูฝน
ไม่มีฤดูหนาวชัดเจน
15.ทรัพยากรธรรมชาติ
สรุปลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญในดินแดนหมู่เกาะ
มหาสมุทรแปซิฟิก มีดังนี้
15.1 ทรัพยากรป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นป่าดิบชื้นหรือป่าฝนเขต
ร้อนชื้น มีพันธุ์ไม้นานาชนิดขึ้นอย่างหนาแน่น สำาหรับ
ประเทศปาปัว-นิวกินี มีทั้งป่าไม้ผลัดใบและป่าไม้ไม่
ผลัดใบ รวมทั้งป่าชายเลนบริเวณชายฝั่งทะเลที่เป็น
หาดโคลนอีกด้วย
15.2 ทรัพยากรแร่ธาตุ มีแร่ทองคำาและทองแดงใน
ประเทศปาปัว-นิวกินี แร่ฟอสเฟตในประเทศนาอูรู
- 8. 15.3 ทรัพยากรดิน ดินในประเทศปาปัว-นิวกินี ไม่ค่อย
อุดมสมบูรณ์นัก เพราะมีฝนตกชุกทำาให้เกิดการชะล้าง
หน้าดินมาก ส่วนในหมู่เกาะอื่น ๆ เป็นดินภูเขาไฟจึงมี
ความอุดมสมบูรณ์สูง
แบบทดสอบก่อนเรียน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของทวีปออสเตรลียและโอ
เชียเนีย
- 9. 1. พืนทีของประเทศใด มีขนาดใหญ่อนดับ ١ และอันดับ ٢ ของทวีป
้ ่ ั
ออสเตรลียและโอเชียเนีย
ก. ออสเตรลีย / ปาปัว-นิวกินี ข. ออสเตรลีย /
นิวซีแลนด์
ค. ปาปัว-นิวกินี / ออสเตรลีย ง. ออสเตรลีย / ฟิจิ
2. ลักษณะภูมประเทศข้อใด ครอบคลุมพืนทีประมาณครึงหนึงของ
ิ ้ ่ ่ ่
ประเทศหรือทวีปออสเตรลีย
ก. ทีราบชายฝั่ง
่ ข. ทีราบลุ่มแม่นำ้า
่
ค. เทือกเขาสูง ง. ทีราบสูงทะเลทราย
่
3. ข้อใด เป็นเขตเกษตรกรรมทีสำาคัญและเป็นทีราบลุมแม่นำ้าทีมี
่ ่ ่ ่
พืนทีกว้างขวางทีสดของประเทศออสเตรลีย
้ ่ ่ ุ
ก. ทีราบสูงคิมเบอร์ลีย์
่ ข. ทีราบรอบทะเลสาบแอร์
่
ค. ทีราบลุ่มแม่นำ้าเมอร์เรย์ ดาร์ลิง
่ ง. ทีราบรอบอ่าวคาร์เปน
่
ตาเรีย
4. ลักษณะภูมประเทศทีโดดเด่นทีสดทางภาคตะวันออกของประเทศ
ิ ่ ่ ุ
หรือทวีปออสเตรลีย คือข้อใด
ก. เทือกเขาเกรตดิไวดิง ข. ทีราบนัลลาบอร์
่
ค. ทะเลทรายเกรตวิกตอเรีย ง. เทือกเขาแมค
โดแนลล์
5. เขตภูมอากาศอบอุนของประเทศออสเตรลียคล้าย ๆ กับทวีปยุโรป
ิ ่
มีประชากรหนาแน่นคือบริเวณใด
ก. ชายฝั่งภาคเหนือ ข. ภาคกลางตอนใน
ค. ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ ง. พื้นที่ส่วนใหญ่ของ
ภาคตะวันตก
6. พืนทีภาคตะวันตกและตอนกลางภายในของประเทศออสเตรลีย
้ ่
มีลกษณะภูมอากาศเป็นอย่างไร
ั ิ
ก. ร้อนชื้นมีฝนตกชุก ข. ร้อนและแห้งแล้งแบบทะเล
ทราย
ค. อบอุ่นชื้นมีฝนตกในฤดูหนาว ง. หนาวเย็นมีธารนำ้าแข็ง
ปกคลุมครึงปี ่
7. “ เกรตแบริเออร์รฟ ” ในท้องทะเลทีขนานกับชายฝังด้านตะวัน
ี ่ ่
ออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรลียมีความยาวหลายพัน
กิโลเมตร หมายถึงข้อใด
ก. แนวปะการัง ข. เทือกเขาใต้ท้องทะเล
- 10. ค. แนวหินภูเขาไฟใต้ท้องทะเล ง. แหล่งก๊าซธรรมชาติใต้
พื้นมหาสมุทร
8. ในอดีต ประเทศออสเตรลียและนิวซีแลนด์เคยเป็นอาณานิคม
ของชาติตะวันตกชาติใด
ก. เนเธอร์แลนด์ ข. อังกฤษ ค. ฝรังเศส
่ ง.
สหรัฐอเมริกา
9. ลักษณะภูมประเทศของประเทศนิวซีแลนด์ ข้อใด จับคูผดความ
ิ ่ ิ
จริง
1. เกาะเหนือ / ภูเขาไฟทีทรงพลัง ่
2. เกาะใต้ / เทือกเขาแอลป์ใต้
3. เกาะเหนือ / ทีราบลุ่มแม่นำ้ากว้างใหญ่
่
4. เกาะใต้ / ชายฝั่งทะเลเป็นหุบเขามีหน้าผาสูงชัน
10.เพราะเหตุทนวซีแลนด์ตงอยูในเขตภูเขาหินใหม่ทเปลือกโลกยังมี
ี่ ิ ั้ ่ ี่
ความเคลือนไหวไม่มนคงจึงอาจเกิด ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
่ ั่
ต่าง ๆ ได้ ยกเว้น ข้อใด ไม่ถกต้อง ู
ก. แผ่นดินไหว ข. ภูเขาไฟระเบิด
ค. นำ้าพุร้อน ง. พายุโซนร้อน
11.ข้อใดเป็นลักษณะภูมอากาศของพืนทีสวนใหญ่ในประเทศ
ิ ้ ่
นิวซีแลนด์
ก. หนาวเย็นแบบกึ่งขั้วโลก ข. ร้อนชื้น มีฝนตกชุก
ตลอดปี
ค. ร้อนและแห้งแล้ง มีฝนตกน้อย ง. อบอุ่นชื้น มีฝนตก
เกือบตลอดปี
12.ดินแดนเชียเนีย ( Oceania ) ซึงเป็นหมูเกาะในมหาสมุทร
่ ่
แปซิฟก มีลกษณะทางธรณีวทยาข้อใด กล่าวผิดความจริง
ิ ั ิ
ก. ตั้งอยู่ในแนวของแผ่นดินไหว ข. เป็นหินเปลือกโลกรุ่น
เก่ามีอายุมาก
ค. เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟในอดีต ง. มีแนวปะการังรอบ
ๆ เกาะจำานวนมาก
13.ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะภูมอากาศทีพบในประเทศหมูเกาะมหาสมุทร
ิ ่ ่
แปซิฟก หรือโอเชียเนีย
ิ
ก. อากาศร้อนชื้น มีฝนตกชุก ข. มีฤดูร้อนกับฤดูฝนเพียง ٢
ฤดู
ค. ความชื้นจากทะเลทำาให้เกิดฝนตก ง. มีบางเดือน
อุณหภูมิลดตำ่าจนมีหิมะตก
- 11. 14.พืนทีปาไม้ของประเทศในดินแดนโอเชียเนีย ส่วนใหญ่เป็นป่า
้ ่ ่
ประเภทใด
ก. ป่าดิบชื้น ข. ป่าสนเขตอบอุ่น
ค. ป่าชายเลน ง. ป่าไม้ผลัดใบเขตร้อน
15.สาเหตุขอใด ทำาให้พนทีเขตอบอุนของประเทศออสเตรลียจึงมี
้ ื้ ่ ่
ฤดูกาลตรงกันข้ามกับทวีปยุโรปเสมอ
ก. มีกระแสนำ้าอุ่นพัดผ่าน ข. ตั้งอยู่ในเขตซีกโลกใต้
ค. มีทะเลทรายล้อมรอบ ง. ได้รับอิทธิพลความชื้น
จากทะเล