ݺߣ
Submit Search
โครงงาน กล่องแห่งความทรงจำ
•
2 likes
•
19,137 views
V
Vikaen Nantasen
Follow
โครงงาน กล่องแห่งความทรงจำ
Read less
Read more
1 of 29
Download now
More Related Content
โครงงาน กล่องแห่งความทรงจำ
1.
โครงงาน กล่องอเนกประสงค์ นาย วิเคณฑ์
นันต๊ะเสน เลขที่ 29 ชั้น ม.6 ห้อง 12 นางสาว ชัญญา สังข์เย็น เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 12
2.
ชื่อโครงงาน - กล่องแห่งความทรงจา The
box of remembrance -ประเภทโครงงาน ประดิษฐ์ -ชื่อผู้ทาโครงงาน - นาย วิเคณฑ์ นันต๊ะเสน เลขที่ 29 - นางสาว ชัญญา สังข์เย็น เลขที่ 32 -ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ -ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูไพริน นันทะเสน -ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน
3.
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันโลกของเราพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมาก พร้อมกันนั้นโลก ของเราก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน โลกร้อนขึ้น
เพราะมนุษย์ใช้ทรัพยากรอย่าง สิ้นเปลืองไม่คานึงถึงว่าทรัพยากรจะหมดหรือสูญหายไปจากโลกนี้ กลุ่มของ พวกเราจึงคิดประดิษฐ์สิ่งของเหลือใช้จากวัสดุเหลือใช้ เช่นไม้อัดที่สร้าง ขึ้นมาจากกระดาษเหลือใช้ นาสิ่งที่พวกเราหลายคนๆคิดว่าเป็นขยะมาทา เป็นของที่น่าสนใจขึ้นมา โครงงานชิ้นนี้ยังเดินตามรอยพ่อหลวงของเรานั่นคือ เศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นเป็นเศรษฐกิจพอเพียงที่ผสมผสานหลายสิ่งหลาย อย่างเข้าด้วยกัน เป็นการบูรณาการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับเรื่องของ ภาวะโลกร้อน การสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์จากเศษวัสดุที่ย่อยสลายยาก จากวัสดุเหลือใช้ประเภทกระดาษ ซึ่งเป็นของเหลือใช้หรือขยะที่มีอยู่ทุกที่ ซึ่ง
4.
นับวันปริมาณจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆดังนั้นการประดิษฐ์จากเศษวัสดุที่ย่อยสลายยาก จากขยะประเภทกระดาษ จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดปริมาณขยะและนาของเหลือ ใช้นี้มาใช้หรือดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ได้ โดยนามาประดิษฐ์เป็นของเล่น
ของ ประดับตกแต่ง และของใช้ต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้าง จิตสานึกที่ดีต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการนาเศษสิ่งของเหลือใช้มา ประดิษฐ์เป็นของใช้ของตกแต่งแทนการทิ้งให้สูญเปล่า ซึ่งจะมีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมในชุมชน และช่วยลดการเกิดภาวะโลกร้อน ขอเชิญชวนพวกเรา นักประดิษฐ์สร้างสรรค์ทุกท่านช่วยกันนาเศษวัสดุเหลือใช้ หรือวัสดุที่เป็นขยะ ต่างๆ นามาคิดค้นประดิษฐ์เป็นสิ่งของรูปแบบต่างๆเพื่อช่วยลดปริมาณขยะที่ ย่อยสลายยากให้ลดลง และลดปริมาณการผลิตสิ่งที่เป็นเหตุของการเกิดภาวะ โลกร้อนขึ้น และช่วยกันประชาสัมพันธ์บอกต่อๆกันให้ทราบว่าวัสดุเหลือใช้ เศษ วัสดุ และขยะยังมีค่าสามารถนามาใช้ทาประโยชน์ได้อีกมากมาย ถ้าเราคิดค้น สร้างสรรค์ชิ้นงานต่างๆ ให้สวยงามและคงคุณค่าไว้ได้และที่สาคัญเพื่อเป็นการ ช่วยลดภาวะโลกร้อน
5.
วัตถุประสงค์ • 1.นาสิ่งเหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • 2.การช่วยกันลดภาวะโลกร้อน •
3. เพื่อให้เด็กได้เห็นคุณค่าและความสาคัญของวัสดุเหลือใช้ • 4.เพื่อลดปริมาณขยะและของเหลือใช้ในบ้าน โรงเรียน และชุมชน • 5. เพื่อให้เด็กได้นาเศษวัสดุมาประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถนามาใช้ ให้เกิดประโยชน์ • 6. เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
6.
หลักการและทฤษฎี ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้คานวณหาขนาดของ กล่องให้สมดุลกันโดยใช้สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตตุรัสคือ ด้าน * ด้าน
7.
ใช้วิชาทางศิลปะในการทาสีเพื่อไม่ให้สีติดกันเป็นก้อน เพื่อให้เกิด ความเรียบเนียน
8.
วิธีดาเนินงาน - ทากล่องไม้ 1.ตัดไม้ให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ
9.
2.ติึϹม้ึϹวยการทากาวและใช้ปืȨะปูยิง
10.
3.ทิ้งกาวให้แห้ง
11.
4.ทาสีตามที่ต้องการ
12.
5.ตากกล่องให้แห้ง
13.
- ทาเบาะ 1. ตัดฟองน้าให้เป็นสี่เหลี่ยมด้านขนาน
14.
2.ตัึϹม้ตามྺȨึϹบาะ
15.
ทากาวยางให้ทั่วบริเวณไม้ โดยทาให้บางๆ
16.
3.ติึϸาวฟองน้ากับไม้แล้วรอให้แห้ง
17.
4.หลังจากฟองȨากับไม้แห้งก็เอามาติึϸัน
18.
วัดขนาดผ้าหนัง ให้พอดีสาหรับห่อหุ้มเบาะ
19.
จากนั้นก็ใช้ปืนตะปูยิง รอบๆ
21.
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.เลื่อยสาหรับตัดไม้
22.
2.แผ่นไม้อัด
23.
3.กาวยาง
24.
4.ปืȨะปู
25.
5.แปลงทาสี และลูกกลิ้ง
26.
6. สีพลาสติก แบบทาเช็ดได้
27.
กาวทาไม้
28.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ นาเศษวัสดุมาประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดเพื่อลดปริมาณขยะและมลพิษและได้พัฒนาความคิด สร้างสรรค์ในการออกแบบ การทางานและได้เรียนรู้การทางานเป็น กลุ่ม
29.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - วิชาการออกแบบ - วิชาคณิตศาสตร์ -
ศิลปะ แหล่งอ้างอิง สอบถามผู้ชานาญด้านการออกแบบไม้ สาอบถามผู้ชานาญด้านการทาเบาะ
Download