ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ใบความรู้
เรื่อง“พลังงานในชีวิตประจาวัน”
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ งานและพลังงาน เรื่อง
“พลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วง”
...............................................................................................
......................................................
พลังงานในชีวิตประจาวัน
พลังงาน คือ ความสามารถทางานได้
สิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีการเคลื่อนที่ สิ่งนั้นย่อมมีพลังงาน
พลังงานมีหลายรูปแบบ ได้แก่พลังงานความร้อน พลังงานแสง
พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี เป็นต้น
พลังงานมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
และมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่โบราณ
จนกระทั่งปัจจุบันมนุษย์ได้ใช้พลังงานต่างๆ
ทากิจกรรมในการดารงชีวิตและใช้อานวยความสะดวกได้มากขึ้น
พลังงานกล แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น
น้าไหล คนเดิน
รถกาลังแล่น นกกาลังบิน เป็นต้น วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
จะมีพลังงานจลน์มากกว่าวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่า
แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันวัตถุที่มีมวลมากกว่า
จะมีพลังงานจลน์มากกว่า
2. พลังงานศักย์ คือ
พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุเนื่องมาจากตาแหน่งของวัตถุ แบ่งเป็น
- พลังงานศักย์โน้มถ่วง
เป็นพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจาก
แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาต่อวัตถุ
วัตถุที่อยู่บนพื้นดินถือว่าไม่มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง
แต่วัตถุที่อยู่สูงจากพื้นดิน มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง
และถ้าวัตถุอยู่สูงจากพื้นดินมากเท่าใด
ก็จะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย
- พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
เป็นพลังงานศักย์ที่มีอยู่ในวัตถุที่ยืดหยุ่นได้โดยเฉพาะสปริง
สปริงที่อยู่ในสภาพปกติคือไม่ถูกยืดหรือหด จะถือว่า
ไม่มีพลังงานศักย์ยืดหยุ่น แต่ถ้าเรายืดสปริง
หรือกดสปริงเข้าไปในขณะที่สปริงถูกยืดหรือถูกกดให้หดนั้น สปริงจะมี
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
พลังงานทั้งสองประเภทอาจอยู่ในรูปของพลังงานต่าง ๆ ดังนี้
1. พลังงานเคมี
เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงหรือสะสมอยู่ในโครงสร้างของสสาร เช่น
พลังงานเคมีที่อยู่ในน้ามันเชื้อเพลิง ถ่านหิน แก๊ซธรรมชาติ ในฟื น
ในถ่านไม้ เมื่อถูกเผาไหม้ก็จะปล่อยพลังงานเคมี
อกมาในรูปของพลังงานความร้อน พลังงานแสง หรือพลังงานกล
2. พลังงานไฟฟ้ า
เป็นพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนไปตามวัตถุที่
เป็นตัวนาไฟฟ้ า ดังนั้นพลังงานไฟฟ้ าจึงเป็นพลังงานจลน์
พลังงานไฟฟ้ าสามารถเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานความร้อน พลังงานแสง
พลังงานกล และอื่น ๆ
3. พลังงานกล เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
โดยตรงของวัตถุต่างๆ
ถ้าวัตถุอยู่นิ่งจะมีพลังงานศักย์ แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์
4. พลังงานแผ่รังสี เป็นพลังงานที่อยู่ในรูปของคลื่น เช่น แสง
เสียง ความร้อน
คลื่นวิทยุ และรังสีต่าง ๆ ซึ่งเป็นพลังงานจลน์
5. พลังงานิวเคลียร์
เป็นพลังงานที่ถูกปล่อยออกจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่ตาม
ธรรมชาติหรือจากเตาปฏิกรณ์ปรมาณู หรือระเบิดนิวเคลียร์

More Related Content

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง“พลังงานในชีวิตประจาวัน” หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ งานและพลังงาน เรื่อง “พลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วง” ............................................................................................... ...................................................... พลังงานในชีวิตประจาวัน พลังงาน คือ ความสามารถทางานได้ สิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีการเคลื่อนที่ สิ่งนั้นย่อมมีพลังงาน พลังงานมีหลายรูปแบบ ได้แก่พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี เป็นต้น พลังงานมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่โบราณ จนกระทั่งปัจจุบันมนุษย์ได้ใช้พลังงานต่างๆ ทากิจกรรมในการดารงชีวิตและใช้อานวยความสะดวกได้มากขึ้น พลังงานกล แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น น้าไหล คนเดิน รถกาลังแล่น นกกาลังบิน เป็นต้น วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง จะมีพลังงานจลน์มากกว่าวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่า แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันวัตถุที่มีมวลมากกว่า จะมีพลังงานจลน์มากกว่า 2. พลังงานศักย์ คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุเนื่องมาจากตาแหน่งของวัตถุ แบ่งเป็น - พลังงานศักย์โน้มถ่วง เป็นพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจาก แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาต่อวัตถุ วัตถุที่อยู่บนพื้นดินถือว่าไม่มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง แต่วัตถุที่อยู่สูงจากพื้นดิน มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง และถ้าวัตถุอยู่สูงจากพื้นดินมากเท่าใด ก็จะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย - พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานศักย์ที่มีอยู่ในวัตถุที่ยืดหยุ่นได้โดยเฉพาะสปริง สปริงที่อยู่ในสภาพปกติคือไม่ถูกยืดหรือหด จะถือว่า ไม่มีพลังงานศักย์ยืดหยุ่น แต่ถ้าเรายืดสปริง หรือกดสปริงเข้าไปในขณะที่สปริงถูกยืดหรือถูกกดให้หดนั้น สปริงจะมี พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
  • 2. พลังงานทั้งสองประเภทอาจอยู่ในรูปของพลังงานต่าง ๆ ดังนี้ 1. พลังงานเคมี เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงหรือสะสมอยู่ในโครงสร้างของสสาร เช่น พลังงานเคมีที่อยู่ในน้ามันเชื้อเพลิง ถ่านหิน แก๊ซธรรมชาติ ในฟื น ในถ่านไม้ เมื่อถูกเผาไหม้ก็จะปล่อยพลังงานเคมี อกมาในรูปของพลังงานความร้อน พลังงานแสง หรือพลังงานกล 2. พลังงานไฟฟ้ า เป็นพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนไปตามวัตถุที่ เป็นตัวนาไฟฟ้ า ดังนั้นพลังงานไฟฟ้ าจึงเป็นพลังงานจลน์ พลังงานไฟฟ้ าสามารถเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานกล และอื่น ๆ 3. พลังงานกล เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ โดยตรงของวัตถุต่างๆ ถ้าวัตถุอยู่นิ่งจะมีพลังงานศักย์ แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์ 4. พลังงานแผ่รังสี เป็นพลังงานที่อยู่ในรูปของคลื่น เช่น แสง เสียง ความร้อน คลื่นวิทยุ และรังสีต่าง ๆ ซึ่งเป็นพลังงานจลน์ 5. พลังงานิวเคลียร์ เป็นพลังงานที่ถูกปล่อยออกจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติหรือจากเตาปฏิกรณ์ปรมาณู หรือระเบิดนิวเคลียร์