ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ระดับการศึกษา
การจัดเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
จัดทำโดย
1. นำงสำววรนำฏ จูมคอม รหัสนักศึกษำ 57003126006
2. นำงสำวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษำ 57003126019
3. นำงสำวชลันดำ คล้ำยขำดี รหัสนักศึกษำ 57003126043
4. นำยชัยณรงค์ มะหำรักษ์ รหัสนักศึกษำ 57003126051
5. นำยมำนิตย์ พรมมำ รหัสนักศึกษำ 54003126162
คณะครุศำสตร์ สำขำคอมพิวเตอร์ศึกษำ
ระดับกำรศึกษำ
 ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6)
 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ได้แบ่งการศึกษาเป็น 3 ระดับ ได้แก่
ระดับกำรศึกษำ (ต่อ)
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6)
การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ เป็น
การศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ
การคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และ
พื้นฐานความเป็นมนุษย์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้าน
ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรมโดยเน้นจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ เป็นระดับการศึกษาที่
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สารวจความถนัด และความสนใจของตนเอง
ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน
มีทักษะในการดาเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งด้าน
ความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย
ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ
ระดับกำรศึกษำ (ต่อ)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น การเพิ่มพูนความรู้และทักษะ
เฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ
ผู้เรียนแต่ละคนทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการ
คิดขั้นสูง สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษา
ต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน
สามารถเป็นผู้นา และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ
ระดับกำรศึกษำ (ต่อ)
กำรจัดเวลำเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ได้กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าสาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้
8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ซึ่งสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้น
โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของ
ผู้เรียน ดังนี้
ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6)
ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ไม่เกิน 5 ชั่วโมง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3)
ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คิด
น้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน
มีค่าน้าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6)
ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน
มีค่าน้าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.)
กำรจัดเวลำเรียน (ต่อ)
โครงสร้ำงเวลำเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
โครงสร้างเวลาเรียน.pdf
การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม
สถานศึกษาสามารถดาเนินการ ดังนี้
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนรวม
ตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด
ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไป
ตามที่กาหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร
โครงสร้ำงเวลำเรียน (ต่อ)
โครงสร้ำงเวลำเรียน (ต่อ)
สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา
และเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3
สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลา สาหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับ เวลา/ชั่วโมง
ประถมศึกษา (ป.1-6) 60 ชั่วโมง
มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) 45 ชั่วโมง
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) 60 ชั่วโมง
โครงสร้ำงเวลำเรียน (ต่อ)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่กาหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีละ 120 ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จานวน
360 ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน
และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษา
จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ระดับการศึกษา การจัดเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียน

More Related Content

ระดับการศึกษา การจัดเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียน