ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ลักษณะอาหารของแต่ละภาค 
อาหารไทยภาคกลาง 
ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีภูเขาบ้าง ส่วนมากเป็นภูเขาเตี้ยๆ มีแม่น้าหลายสายไหลผ่าน ที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา 
แ ม่น้าท่าจีน แ ม่น้าแ ม่ก ล อ ง ท าให้เกิด ที่ร าบ ลุ่ม ริม แ ม่น้าเห ม าะ ส าห รับ เพ ร าะป ลูก แ ล ะ เลี้ย งสัต ว์ 
จึงเป็นภาคที่อุมสมบูรณ์มากที่สุด เป็นที่ตั้งของเมืองหลวงนับหลายร้อยปี ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ 
จึงทาให้เป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมมีการติดต่อกับต่างประเทศ ทาให้เกิดการรับอิทธิพลทางด้านอาหาร เช่น 
ก า ร ผัด โ ด ย ใ ช้ก ร ะ ท ะ แ ล ะ น้า มัน จ า ก ช า ว จีน ข น ม ท อ ง ห ยิบ ฝ อ ย ท อ ง ม า จ า ก ช า ว โ ป ร ตุเก ส 
เครื่องแกงที่ใส่ผลกะหรี่มาจากชาวฮินดู เป็นต้น อาหารภาคกลางมักจะมีเครื่องเคียงของแนม เช่น น้า ปลาหวานคู่กับกุ้งเผา 
ปลาดุกย่าง แกงเผ็ดคู่กับของเค็ม น้า พริกลงเรือคู่หมูหวาน เป็นต้น มีขนมหวานและอาหารว่างมากกกว่าภาค 
อาหารไทยภาคเหนือ 
ภาคเหนือ ภูมิประเทศเป็นภูเชาสลับกับทิวเขาทอดเป็นแนวยาวจากเหนือลงไปใต้ มีที่ราบระหว่างภูเขา 
อากาศหนาวเย็น ทาให้มีพืชพรรณที่แตกต่างไปจากภาคอื่นๆ เช่น มะเขือส้ม ดอกงิ้ว พริกหนุ่ม มะแขว่น แหลบ 
มีเขตแดนบางส่วนติดกับประเทศพม่า ทา ให้เกิดการถ่นทอดวัฒนธรรม เช่น แกงฮังเล ขนมจีนน้า เงี้ยว 
หรือขนมจีนน้า มะเขือส้ม (ชาวไทยใหญ่ ชาวเงี้ยว) ข้าวซอย (ชาวจีนฮ่อ) 
มีการถนอมอาหารหลายชนิดที่ปัจจุบันเป็นที่แพร่หลาย เช่น แคบหมู หนังฟอง จิ้นส้มหรือแหนม ถั่วเน่า น้า ปู้ (น้า ปู) 
เป็นต้น 
อาหารภาคเหนือไม่นิยมใส่น้า ตาล ความหวานจะได้จากส่วนผสมที่นา มาทา อาหาร เช่น ความหวานจากผัก 
จากปลา ไขมันจะได้จากน้า มันของสัตว์ สัตว์ที่นิมนา มาประกอบอาหารจะเป็น หมู ไก่ เนื้อ และปลาน้า จืด 
การรับประทานอาหารของคนภาคเหนือ จะใช้โต๊ะข้าวที่เรียกว่าขันโตก แทนโต๊ะอาหาร 
จะทา ด้วยไม้รูปทรงกลมมีขาสูงพอที่จะนั่งร่วมวง และหยิบอาหารได้สะดวก ในปัจจุบันกลายเป็นการจัดเลี้ยงที่นิยมเรียกว่า 
งานเลี้ยงขันโตกดินเนอร์ ซึ่งจะมีรายการอาหารที่จัดดังนี้ ข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก แกงฮังเล ลาบคั่ว (ไม่นิยมรสเปรี้ยว 
ปรุงรสเค็มนา นา ไปผัดกับน้า มันให้สุก) ไส้อั่ว แคบหมู จิ้นทอด (หมูทอด) น้า พริกหนุ่มหรือน้า พริกอ่อง ผักสด ผักต้ม
อาหารไทยภาคใต้ 
ภาคใต้จะเริ่มตั้งแต่ชุมพรลงไปถึงประเทศมาเลเซีย มีลักษณะเป็นแผ่นดินที่ยื่นลงไปในทะเล โดยมีทะเลขนาบทั้ 2 ด้าน 
มีทิวเขาตะนาวศรีอยู่ทางทิศตะวันตกกั้นแนวพรมแดนไทยกับพม่า มีฝนตกชุกและมีช่วงฤดูฝนนานกว่าภาคอื่นๆ ของประเทศ 
จึงมีผักที่ใช้เป็นอาหารแตกต่างไปจากภาคอื่นๆ หลายชนิด เช่น สะตอ ลูกเนียง มะม่วงหิมพานต์ หน่อเหวียง ใบพาโหม อ้อดิบ 
อาหารภาคใต้โดยทั่วไปมักมีรสจัด คือ เผ็ด เค็ม รสหวานได้จากกะทิ เครื่องปรุงรสเค็มได้จากกะปิ น้า ปลา น้า บูดู 
รสเปรี้ยวได้จากมะนาว มะกรูด มะม่วงเบา ส้มแขก สีอาอาหารภาคใต้โดยทั่วไปมักมีรสจัด คือ เผ็ด เค็ม รสหวานได้จากกะทิ 
เครื่องปรุงรสเค็มได้จากกะปิ น้า ปลา น้า บูดู รสเปรี้ยวได้จากมะนาว มะกรูด มะม่วงเบา ส้มแขก 
สีอาหารจะออกสีเหลืองจากขมิ้น ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ที่นอกจากให้สีแล้ว ยังให้กลิ่นด้วย 
และดับกลิ่นคาวของอาหารทะเลนี้เป็นอาหารหลัก การที่อาหารภาคใต้มีรสจัด จึงต้องมีผักรับประทานคู่ไปด้วย 
เพื่อช่วยลดความเผ็ดร้อนลง เรียกว่า "ผักเหนาะ" เช่น มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว สะตอ ลูกเนียง ยอดมะกอก นอกจากนี้ 
ยังมีการถนอมอาหารที่ขึ้นชื่อ เช่น กุ้งเสียบ น้า บูดู ไตปลา เป็นต้น 
อาหารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
อาหารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ภาคอีสาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง ประกอบด้วย ทิวเขา 
มีผ่าไม้น้อย เป็นทุ่งกว้าง เหมาะสา หรับเลี้ยงสัตว์ รับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก รสอาหารเค็ม เผ็ด และเปรี้ยว ทา ให้เกิดอาหารที่ขึ้นชื่อ คือ 
ส้มตา ลาบ ซุปหน่อไม้ ไส้กรอก หม่า (น้า ตับ) การจัดเตรียมอาหารไม่เน้นสีสันของอาหารหรือรูปแบบมากนัก 
กลิ่นของอาหารได้จากเครื่องเทศเหมือนภาคอื่นๆ แต่จะนิยมใช้ใบแมงลัก ผักชีลาว ผักชีฝรั่ง ผักแพว จะใส่ในอาหารเกือบทุกชนิด 
อาหารประเภทแกงไม่นิยมใส่กะทิ

More Related Content

ชุติกาญจȨ

  • 1. ลักษณะอาหารของแต่ละภาค อาหารไทยภาคกลาง ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีภูเขาบ้าง ส่วนมากเป็นภูเขาเตี้ยๆ มีแม่น้าหลายสายไหลผ่าน ที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แ ม่น้าท่าจีน แ ม่น้าแ ม่ก ล อ ง ท าให้เกิด ที่ร าบ ลุ่ม ริม แ ม่น้าเห ม าะ ส าห รับ เพ ร าะป ลูก แ ล ะ เลี้ย งสัต ว์ จึงเป็นภาคที่อุมสมบูรณ์มากที่สุด เป็นที่ตั้งของเมืองหลวงนับหลายร้อยปี ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ จึงทาให้เป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมมีการติดต่อกับต่างประเทศ ทาให้เกิดการรับอิทธิพลทางด้านอาหาร เช่น ก า ร ผัด โ ด ย ใ ช้ก ร ะ ท ะ แ ล ะ น้า มัน จ า ก ช า ว จีน ข น ม ท อ ง ห ยิบ ฝ อ ย ท อ ง ม า จ า ก ช า ว โ ป ร ตุเก ส เครื่องแกงที่ใส่ผลกะหรี่มาจากชาวฮินดู เป็นต้น อาหารภาคกลางมักจะมีเครื่องเคียงของแนม เช่น น้า ปลาหวานคู่กับกุ้งเผา ปลาดุกย่าง แกงเผ็ดคู่กับของเค็ม น้า พริกลงเรือคู่หมูหวาน เป็นต้น มีขนมหวานและอาหารว่างมากกกว่าภาค อาหารไทยภาคเหนือ ภาคเหนือ ภูมิประเทศเป็นภูเชาสลับกับทิวเขาทอดเป็นแนวยาวจากเหนือลงไปใต้ มีที่ราบระหว่างภูเขา อากาศหนาวเย็น ทาให้มีพืชพรรณที่แตกต่างไปจากภาคอื่นๆ เช่น มะเขือส้ม ดอกงิ้ว พริกหนุ่ม มะแขว่น แหลบ มีเขตแดนบางส่วนติดกับประเทศพม่า ทา ให้เกิดการถ่นทอดวัฒนธรรม เช่น แกงฮังเล ขนมจีนน้า เงี้ยว หรือขนมจีนน้า มะเขือส้ม (ชาวไทยใหญ่ ชาวเงี้ยว) ข้าวซอย (ชาวจีนฮ่อ) มีการถนอมอาหารหลายชนิดที่ปัจจุบันเป็นที่แพร่หลาย เช่น แคบหมู หนังฟอง จิ้นส้มหรือแหนม ถั่วเน่า น้า ปู้ (น้า ปู) เป็นต้น อาหารภาคเหนือไม่นิยมใส่น้า ตาล ความหวานจะได้จากส่วนผสมที่นา มาทา อาหาร เช่น ความหวานจากผัก จากปลา ไขมันจะได้จากน้า มันของสัตว์ สัตว์ที่นิมนา มาประกอบอาหารจะเป็น หมู ไก่ เนื้อ และปลาน้า จืด การรับประทานอาหารของคนภาคเหนือ จะใช้โต๊ะข้าวที่เรียกว่าขันโตก แทนโต๊ะอาหาร จะทา ด้วยไม้รูปทรงกลมมีขาสูงพอที่จะนั่งร่วมวง และหยิบอาหารได้สะดวก ในปัจจุบันกลายเป็นการจัดเลี้ยงที่นิยมเรียกว่า งานเลี้ยงขันโตกดินเนอร์ ซึ่งจะมีรายการอาหารที่จัดดังนี้ ข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก แกงฮังเล ลาบคั่ว (ไม่นิยมรสเปรี้ยว ปรุงรสเค็มนา นา ไปผัดกับน้า มันให้สุก) ไส้อั่ว แคบหมู จิ้นทอด (หมูทอด) น้า พริกหนุ่มหรือน้า พริกอ่อง ผักสด ผักต้ม
  • 2. อาหารไทยภาคใต้ ภาคใต้จะเริ่มตั้งแต่ชุมพรลงไปถึงประเทศมาเลเซีย มีลักษณะเป็นแผ่นดินที่ยื่นลงไปในทะเล โดยมีทะเลขนาบทั้ 2 ด้าน มีทิวเขาตะนาวศรีอยู่ทางทิศตะวันตกกั้นแนวพรมแดนไทยกับพม่า มีฝนตกชุกและมีช่วงฤดูฝนนานกว่าภาคอื่นๆ ของประเทศ จึงมีผักที่ใช้เป็นอาหารแตกต่างไปจากภาคอื่นๆ หลายชนิด เช่น สะตอ ลูกเนียง มะม่วงหิมพานต์ หน่อเหวียง ใบพาโหม อ้อดิบ อาหารภาคใต้โดยทั่วไปมักมีรสจัด คือ เผ็ด เค็ม รสหวานได้จากกะทิ เครื่องปรุงรสเค็มได้จากกะปิ น้า ปลา น้า บูดู รสเปรี้ยวได้จากมะนาว มะกรูด มะม่วงเบา ส้มแขก สีอาอาหารภาคใต้โดยทั่วไปมักมีรสจัด คือ เผ็ด เค็ม รสหวานได้จากกะทิ เครื่องปรุงรสเค็มได้จากกะปิ น้า ปลา น้า บูดู รสเปรี้ยวได้จากมะนาว มะกรูด มะม่วงเบา ส้มแขก สีอาหารจะออกสีเหลืองจากขมิ้น ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ที่นอกจากให้สีแล้ว ยังให้กลิ่นด้วย และดับกลิ่นคาวของอาหารทะเลนี้เป็นอาหารหลัก การที่อาหารภาคใต้มีรสจัด จึงต้องมีผักรับประทานคู่ไปด้วย เพื่อช่วยลดความเผ็ดร้อนลง เรียกว่า "ผักเหนาะ" เช่น มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว สะตอ ลูกเนียง ยอดมะกอก นอกจากนี้ ยังมีการถนอมอาหารที่ขึ้นชื่อ เช่น กุ้งเสียบ น้า บูดู ไตปลา เป็นต้น อาหารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาหารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ภาคอีสาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง ประกอบด้วย ทิวเขา มีผ่าไม้น้อย เป็นทุ่งกว้าง เหมาะสา หรับเลี้ยงสัตว์ รับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก รสอาหารเค็ม เผ็ด และเปรี้ยว ทา ให้เกิดอาหารที่ขึ้นชื่อ คือ ส้มตา ลาบ ซุปหน่อไม้ ไส้กรอก หม่า (น้า ตับ) การจัดเตรียมอาหารไม่เน้นสีสันของอาหารหรือรูปแบบมากนัก กลิ่นของอาหารได้จากเครื่องเทศเหมือนภาคอื่นๆ แต่จะนิยมใช้ใบแมงลัก ผักชีลาว ผักชีฝรั่ง ผักแพว จะใส่ในอาหารเกือบทุกชนิด อาหารประเภทแกงไม่นิยมใส่กะทิ