ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
PLC คืออะไร? สำคัญ
อย่ำงไร?
ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ หรือ
Professional Learning Community
หมำยถึง กำรร่วมมือ ร่วมใจกันของครู
ผู้บริหำรโรงเรียน และหน่ วยงำน
กำรศึกษำที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนำกำร
เรียนรู ้ทำงวิชำชีพ โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์
ไปที่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถ
พัฒนำกำรเรียนรู ้ได้ด้วยตนเอง ผ่ำน
กำรวำงแผน กำรมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ซึ่งกันและกัน
จนเกิดเป็ นวัฒนธรรม หรือชุมชนของ
่
ในยุคปัจจุบันเป็ นที่ทรำบกันดีแล้วว่ำ ในแต่ละชั้นเรียนจะมี
นักเรียนที่มีควำมสำมำรถที่หลำกหลำยและแตกต่ำงกัน ดัง
พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พุทธศักรำช 2545 มำตรำ 10 ที่ระบุว่ำ กำรจัดกำรศึกษำ
ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกำสเสมอกันในกำรรับกำรศึกษำขั้น
พื้นฐำนไม่น้อยกว่ำสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่ำงทั่วถึงและมีคุณภำพ
โดยไม่เก็บค่ำใช้จ่ำย กำรจัดกำรศึกษำสำหรับบุคคลซึ่งมีควำม
บกพร่องทำงร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม กำรสื่อสำร
และกำรเรียนรู ้หรือมีร่ำงกำยพิกำร หรือทุพพลภำพหรือบุคคลซึ่งไม่
สำมำรถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกำส ต้องจัดให้บุคคล
ดังกล่ำวมีสิทธิและโอกำสได้รับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนเป็ นพิเศษ
กำรศึกษำสำหรับคนพิกำรในวรรคสอง ให้จัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือ
พบควำมพิกำรโดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำยและให้บุคคลดังกล่ำวมีสิทธิ
ได้รับควำมช่วยเหลืออื่นใดทำงกำรศึกษำ
นอกจำกนี้แล้วในมำตรำ 22 ยังระบุถึงหลักกำรจัด
กำรศึกษำว่ำ ผู้เรียนทุกคนสำมำรถเรียนรู ้และพัฒนำ
ตนเองได้ ต้องจัดกำรศึกษำที่พัฒนำผู้เรียนตำม
ธรรมชำติและเต็มศักยภำพ ครูทุกคนมีควำมจำเป็ น
อย่ำงยิ่งที่จะต้องแสวงหำวิธีกำรที่จะช่วยให้นักเรียนทุก
ค น ส ำ ม ำ ร ถ เ รีย น รู ้ไ ด้ต ำ ม เ จ ต น ำ ร ม ณ์ข อ ง
พระรำชบัญญัติดังกล่ำว ซึ่งนวัตกรรมใหม่ที่ครูจะต้อง
ทรำบคือ Professional Learning Community (PLC)
พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ
พ.ศ. 2542
(และแก้ไขเพิ่มเติม 2545,2553)
PLC ย่อมำจำก Professional Learning
Community
ซึ่งหมำยถึง Community of Practice (COP) ใน
กำรทำหน้ำที่ครูนั่นเอง หรือกล่ำวอีกนัยหนึ่ง
เป็ นกำรรวมตัวกันทำงำนไปพัฒนำทักษะและ
กำรเรียนรู ้เพื่อปฏิบัติหน้ำที่ครูเพื่อศิษย์ไป
โดยรวมตัวกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ จำก
ประสบกำรณ์ตรง ทำให้กำรทำหน้ำที่ครูเพื่อ
ศิษย์เป็ นกำรทำงำนเป็ นกลุ่มหรือเป็ นทีม ซึ่ง
อำจเป็ นทีมในโรงเรียนเดียวกันก็ได้ ต่ำง
โรงเรียนกันก็ได้ หรืออำจจะอยู่ห่ำงไกลกันก็ได้
โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ ผ่ำน ICT
ทำไมต้อง
PLC ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ ( Professional Learning
Community: PLC) ซึ่งมีที่มำจำกทฤษฎีพหุปัญญำของ
Gardner ที่ได้กล่ำวถึง ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับกำรเรียนรู ้ ว่ำ
“How students learn in a holistic & natural way” (Gardner,
1983) ซึ่งหมำยควำมว่ำ นักเรียนเรียนรู ้ในวิถีทำงที่เป็ นองค์
รวมและธรรมชำติอย่ำงไร นอกจำกนี้แล้ว สติปัญญำของ
นักเรียนถูกเปิ ดไว้เพื่อกำรเรียนรู ้และครูต้องพัฒนำโอกำสที่
ห ล ำ ก ห ล ำ ย เ พื่ อใ ห้นั ก เ รีย นไ ด้สื บ เ ส ำ ะ แ ล ะ คิ ด
Carol, A. Tomlinson เขียนหนังสือ “How to Differentiated
Instruction in Mixed Ability Classroom” ในปี 1995 ซึ่งเน้น
เกี่ยวกับกำรใช้ Differentiated Instruction ในชั้นเรียนที่มี
ควำมสำมำรถหลำกหลำย
ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning
Community: PLC) มำจำกไหน Rosenholtz (1989) ได้ทำกำรวิจัย
พบว่ำ “ครูที่มีควำมรู ้สึกว่ำ ตนเองมีควำมสำมำรถมักจะ
ปรับปรุงตนเอง ยอมรับพฤติกรรมใหม่ๆ และพยำยำมพัฒนำ
วิชำชีพของตนเอง”Darling-Hammond &Bransford (2005) ได้
พยำยำมพัฒนำมำตรฐำนระดับชำติของครูที่สะท้อนผลถึงสิ่ง
ที่ครูต้องกำรในกำรสอนนักเรียนที่มีควำมหลำกหลำย
งำนวิจัยของพวกเขำมีจุดเน้นที่ “the better we know our
students, the quicker we can intervene in their learning” นั่นคือ
ถ้ำครูยิ่งรู ้จักนักเรียนของตนเองดีเท่ำไร ก็ยิ่งสำมำรถช่วย
นักเรียนในกำรเรียนรู ้ได้เร็วขึ้นเท่ำนั้น นอกจำกนี้แล้ว ใน
งำนวิจัยยังเน้น ว่ำ นักเรียนที่ครูต้องรู ้จักมีควำมต้องกำรครูที่
มีควำมคิดสร้ำงสรรค์และมีนวัตกรรม
ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning
Communicaty:PLC) คืออะไร
PLC มำจำกทฤษฎีที่กล่ำวถึง นักกำรศึกษำที่
ชอบคิด ที่มีควำมต้องกำรแลกเปลี่ยนควำมเชื่อทั่วไป
เกี่ยวกับกำรสอนและกำรเรียนรู ้ด้วยกันที่ไม่ใช่แค่กำร
พัฒนำวิชำชีพเท่ำนั้น แต่ยังต้องกำรให้นักเรียน
ประสบผลสำเร็จ
1. วิสัยทัศน์ ควำมเชื่อ และค่ำนิยม (Vision,
Beliefs & Values)
2. ควำมเป็ นผู้นำ (Leadership)
3. กำรชี้นำ (Leading)
4. สิ่งแวดล้อมเชิงบวก (Positive Environment)
5. กำรปฏิบัติส่วนบุคคล (Personal Practice)
สรุปองค์ประกอบของ PLC ดังนี้
“โรงเรียนควรเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับครูและนักเรียน”
โดยเฉพำะ ในศตวรรษที่ 21”
1. กำหนดควำมต้องกำรของโรงเรียนและควำมพร้อมในกำร
เลี่ยนแปลง (ระบุสิ่งที่ขัดขวำง/อุปสรรค)
2. หำคนมำแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ โดยเริ่มต้นจำกกำร
แลกเปลี่ยนแนวคิด
3. กำหนดกรอบ
4. พิจำรณำจุดที่ต้องกำรเปลี่ยนแปลงจำกจุดเล็กๆ (เช่น
เริ่มต้นจำกบำงสิ่งบำงอย่ำงที่สำมำรถมองเห็นได้ชัดเจน
จำกภำยนอก เช่น กำรประดับตกแต่งห้องโถง หรือทำงเดิน
จะเริ่มต้นและใช้ PLC อย่ำงไร/อย่ำงไร
1. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่ำยๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจำก
กำรกำหนดเป้ ำหมำย อภิปรำย สะท้อนผล แลกเปลี่ยนกับคน
อื่นๆ เพื่อกำหนดว่ำ จะดำเนินกำรอย่ำงไร โดยพิจำรณำและ
สะท้อนผลในประเด็นต่อไปนี้
1.1 หลักกำรอะไรที่จะสร้ำงแรงจูงใจในกำรปฏิบัติ
1.2 เรำจะเริ่มต้นควำมรู ้ใหม่อย่ำงไร
1.3 กำรออกแบบอะไรที่พวกเรำควรใช้ในกำรตรวจสอบ
หลักฐำนของกำรเรียนรู ้ที่สำคัญ
2. กำรวำงแผนด้วยควำมร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมำชิก
ของกลุ่มกำหนดสำรสนเทศที่ต้องใช้ในกำรดำเนินกำร
กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs
อย่ำงยั่งยืน
3. กำรกำหนดควำมคำดหวังในระดับสูง (Set high
expectations) และวิเครำะห์กำรสอนสืบเสำะหำวิธีกำรที่จะ
ทำให้ประสบผลสำเร็จสูงสุด
3.1 ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับกำรสอนหลังจำกได้มี
กำรจัดเตรียมต้นแบบที่เป็ นกำรวำงแผนระยะยำว (Long-
term)
3.2 จัดให้มีช่วงเวลำของกำรชี้แนะ โดยเน้นกำรนำไปใช้
ในชั้นเรียน
3.3 ให้เวลำสำหรับครูที่มีควำมยุ่งยำกในกำรสังเกตกำรณ์
ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้ำงบรรยำกำศในกำรเรียนรู ้
กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs
อย่ำงยั่งยืน (ต่อ)
4. เริ่มต้นจำกจุดเล็กๆ (Start small) เริ่มต้นจำกกำรใช้
กลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยปรับขยำย
5. ศึกษำและใช้ข้อมูล (Study and use the data)
ตรวจสอบผลกำรนำไปใช้และกำรสะท้อนผลเพื่อนำมำ
กำหนดว่ำ แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรับปรุง
หรือยกเลิก
6.วำงแผนเพื่อควำมสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู ้
จำกอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สำเร็จ และทำ
ต่อไป ควำมสำเร็จในอนำคต หรือควำมล้มเหลวขึ้นอยู่
กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs
อย่ำงยั่งยืน (ต่อ)
7. นำสู่สำธำรณะ (Go public) แผนไหนที่สำเร็จก็จะมี
กำรเชิญชวนให้คนอื่นเข้ำมำมีส่วนร่วม ยกย่องและ
แลกเปลี่ยนควำมสำเร็จ
8. ฝึ กฝนร่ำงกำยและหล่อเลี้ยงสมอง (Exercise the
body & nourish the brain) จัดกิจกรรมที่ได้มีกำร
เคลื่อนไหวและ เตรียมครูที่ทำงำนสำเร็จของแต่ละ
กลุ่มโดยมีกำรจัดอำหำร เครื่องดื่มที่มีประโยชน์
กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs
อย่ำงยั่งยืน (ต่อ)
PLC มุ่งเน้นที่กำรปฏิบัติกำรสอนและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
ประเภทของ PLC แบ่งออกเป็ นประเภทดังนี้
1. พันธมิตรครู (Teacher partnership) เน้น กำรปรับปรุงยุทธศำสตร ์
กำรสอนที่เฉพำะเจำะจง
2. ทีมตำมระดับชั้นเรียน (Grade-level teams) เน้น กำรร่วมมือในกำร
วำงแผนและกำรสอน
3. ทีมตำมสำระกำรเรียนรู ้ (Content-area teams) เน้น กำรปรับปรุง
หลักสูตร
4. ทีมระหว่ำงหลักสูตร (Vertical teams) เน้น กำรจัดเตรียมควำม
คำดหวังและประสบกำรณ์ของนักเรียน
้
สรุป
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
“PLC คืออะไร? สำคัญอย่ำงไร?.” 2558.
[ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มำ https://candmbsri.wordpress.com
(2 กุมภำพันธ ์เมษำยน 2558).
นำงสำวศยำมน จำรัสสกุล รหัสนักศึกษำ
6053200010
นำงสำววรำภรณ์ ประจงเศรษฐ์ รหัสนักศึกษำ
6053200011
นำงสำวดวงเด่น แสนดี รหัสนักศึกษำ
6053200012
จัดทำโดย

More Related Content

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)

  • 2. PLC คืออะไร? สำคัญ อย่ำงไร? ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ หรือ Professional Learning Community หมำยถึง กำรร่วมมือ ร่วมใจกันของครู ผู้บริหำรโรงเรียน และหน่ วยงำน กำรศึกษำที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนำกำร เรียนรู ้ทำงวิชำชีพ โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ไปที่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถ พัฒนำกำรเรียนรู ้ได้ด้วยตนเอง ผ่ำน กำรวำงแผน กำรมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ซึ่งกันและกัน จนเกิดเป็ นวัฒนธรรม หรือชุมชนของ ่
  • 3. ในยุคปัจจุบันเป็ นที่ทรำบกันดีแล้วว่ำ ในแต่ละชั้นเรียนจะมี นักเรียนที่มีควำมสำมำรถที่หลำกหลำยและแตกต่ำงกัน ดัง พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พุทธศักรำช 2545 มำตรำ 10 ที่ระบุว่ำ กำรจัดกำรศึกษำ ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกำสเสมอกันในกำรรับกำรศึกษำขั้น พื้นฐำนไม่น้อยกว่ำสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่ำงทั่วถึงและมีคุณภำพ โดยไม่เก็บค่ำใช้จ่ำย กำรจัดกำรศึกษำสำหรับบุคคลซึ่งมีควำม บกพร่องทำงร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม กำรสื่อสำร และกำรเรียนรู ้หรือมีร่ำงกำยพิกำร หรือทุพพลภำพหรือบุคคลซึ่งไม่ สำมำรถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกำส ต้องจัดให้บุคคล ดังกล่ำวมีสิทธิและโอกำสได้รับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนเป็ นพิเศษ กำรศึกษำสำหรับคนพิกำรในวรรคสอง ให้จัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือ พบควำมพิกำรโดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำยและให้บุคคลดังกล่ำวมีสิทธิ ได้รับควำมช่วยเหลืออื่นใดทำงกำรศึกษำ
  • 4. นอกจำกนี้แล้วในมำตรำ 22 ยังระบุถึงหลักกำรจัด กำรศึกษำว่ำ ผู้เรียนทุกคนสำมำรถเรียนรู ้และพัฒนำ ตนเองได้ ต้องจัดกำรศึกษำที่พัฒนำผู้เรียนตำม ธรรมชำติและเต็มศักยภำพ ครูทุกคนมีควำมจำเป็ น อย่ำงยิ่งที่จะต้องแสวงหำวิธีกำรที่จะช่วยให้นักเรียนทุก ค น ส ำ ม ำ ร ถ เ รีย น รู ้ไ ด้ต ำ ม เ จ ต น ำ ร ม ณ์ข อ ง พระรำชบัญญัติดังกล่ำว ซึ่งนวัตกรรมใหม่ที่ครูจะต้อง ทรำบคือ Professional Learning Community (PLC)
  • 6. PLC ย่อมำจำก Professional Learning Community ซึ่งหมำยถึง Community of Practice (COP) ใน กำรทำหน้ำที่ครูนั่นเอง หรือกล่ำวอีกนัยหนึ่ง เป็ นกำรรวมตัวกันทำงำนไปพัฒนำทักษะและ กำรเรียนรู ้เพื่อปฏิบัติหน้ำที่ครูเพื่อศิษย์ไป โดยรวมตัวกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ จำก ประสบกำรณ์ตรง ทำให้กำรทำหน้ำที่ครูเพื่อ ศิษย์เป็ นกำรทำงำนเป็ นกลุ่มหรือเป็ นทีม ซึ่ง อำจเป็ นทีมในโรงเรียนเดียวกันก็ได้ ต่ำง โรงเรียนกันก็ได้ หรืออำจจะอยู่ห่ำงไกลกันก็ได้ โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ ผ่ำน ICT
  • 7. ทำไมต้อง PLC ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ ( Professional Learning Community: PLC) ซึ่งมีที่มำจำกทฤษฎีพหุปัญญำของ Gardner ที่ได้กล่ำวถึง ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับกำรเรียนรู ้ ว่ำ “How students learn in a holistic & natural way” (Gardner, 1983) ซึ่งหมำยควำมว่ำ นักเรียนเรียนรู ้ในวิถีทำงที่เป็ นองค์ รวมและธรรมชำติอย่ำงไร นอกจำกนี้แล้ว สติปัญญำของ นักเรียนถูกเปิ ดไว้เพื่อกำรเรียนรู ้และครูต้องพัฒนำโอกำสที่ ห ล ำ ก ห ล ำ ย เ พื่ อใ ห้นั ก เ รีย นไ ด้สื บ เ ส ำ ะ แ ล ะ คิ ด Carol, A. Tomlinson เขียนหนังสือ “How to Differentiated Instruction in Mixed Ability Classroom” ในปี 1995 ซึ่งเน้น เกี่ยวกับกำรใช้ Differentiated Instruction ในชั้นเรียนที่มี ควำมสำมำรถหลำกหลำย
  • 8. ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Community: PLC) มำจำกไหน Rosenholtz (1989) ได้ทำกำรวิจัย พบว่ำ “ครูที่มีควำมรู ้สึกว่ำ ตนเองมีควำมสำมำรถมักจะ ปรับปรุงตนเอง ยอมรับพฤติกรรมใหม่ๆ และพยำยำมพัฒนำ วิชำชีพของตนเอง”Darling-Hammond &Bransford (2005) ได้ พยำยำมพัฒนำมำตรฐำนระดับชำติของครูที่สะท้อนผลถึงสิ่ง ที่ครูต้องกำรในกำรสอนนักเรียนที่มีควำมหลำกหลำย งำนวิจัยของพวกเขำมีจุดเน้นที่ “the better we know our students, the quicker we can intervene in their learning” นั่นคือ ถ้ำครูยิ่งรู ้จักนักเรียนของตนเองดีเท่ำไร ก็ยิ่งสำมำรถช่วย นักเรียนในกำรเรียนรู ้ได้เร็วขึ้นเท่ำนั้น นอกจำกนี้แล้ว ใน งำนวิจัยยังเน้น ว่ำ นักเรียนที่ครูต้องรู ้จักมีควำมต้องกำรครูที่ มีควำมคิดสร้ำงสรรค์และมีนวัตกรรม
  • 9. ชุมชนกำรเรียนรู ้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Communicaty:PLC) คืออะไร PLC มำจำกทฤษฎีที่กล่ำวถึง นักกำรศึกษำที่ ชอบคิด ที่มีควำมต้องกำรแลกเปลี่ยนควำมเชื่อทั่วไป เกี่ยวกับกำรสอนและกำรเรียนรู ้ด้วยกันที่ไม่ใช่แค่กำร พัฒนำวิชำชีพเท่ำนั้น แต่ยังต้องกำรให้นักเรียน ประสบผลสำเร็จ
  • 10. 1. วิสัยทัศน์ ควำมเชื่อ และค่ำนิยม (Vision, Beliefs & Values) 2. ควำมเป็ นผู้นำ (Leadership) 3. กำรชี้นำ (Leading) 4. สิ่งแวดล้อมเชิงบวก (Positive Environment) 5. กำรปฏิบัติส่วนบุคคล (Personal Practice) สรุปองค์ประกอบของ PLC ดังนี้
  • 11. “โรงเรียนควรเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับครูและนักเรียน” โดยเฉพำะ ในศตวรรษที่ 21” 1. กำหนดควำมต้องกำรของโรงเรียนและควำมพร้อมในกำร เลี่ยนแปลง (ระบุสิ่งที่ขัดขวำง/อุปสรรค) 2. หำคนมำแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ โดยเริ่มต้นจำกกำร แลกเปลี่ยนแนวคิด 3. กำหนดกรอบ 4. พิจำรณำจุดที่ต้องกำรเปลี่ยนแปลงจำกจุดเล็กๆ (เช่น เริ่มต้นจำกบำงสิ่งบำงอย่ำงที่สำมำรถมองเห็นได้ชัดเจน จำกภำยนอก เช่น กำรประดับตกแต่งห้องโถง หรือทำงเดิน จะเริ่มต้นและใช้ PLC อย่ำงไร/อย่ำงไร
  • 12. 1. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่ำยๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจำก กำรกำหนดเป้ ำหมำย อภิปรำย สะท้อนผล แลกเปลี่ยนกับคน อื่นๆ เพื่อกำหนดว่ำ จะดำเนินกำรอย่ำงไร โดยพิจำรณำและ สะท้อนผลในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 หลักกำรอะไรที่จะสร้ำงแรงจูงใจในกำรปฏิบัติ 1.2 เรำจะเริ่มต้นควำมรู ้ใหม่อย่ำงไร 1.3 กำรออกแบบอะไรที่พวกเรำควรใช้ในกำรตรวจสอบ หลักฐำนของกำรเรียนรู ้ที่สำคัญ 2. กำรวำงแผนด้วยควำมร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมำชิก ของกลุ่มกำหนดสำรสนเทศที่ต้องใช้ในกำรดำเนินกำร กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs อย่ำงยั่งยืน
  • 13. 3. กำรกำหนดควำมคำดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเครำะห์กำรสอนสืบเสำะหำวิธีกำรที่จะ ทำให้ประสบผลสำเร็จสูงสุด 3.1 ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับกำรสอนหลังจำกได้มี กำรจัดเตรียมต้นแบบที่เป็ นกำรวำงแผนระยะยำว (Long- term) 3.2 จัดให้มีช่วงเวลำของกำรชี้แนะ โดยเน้นกำรนำไปใช้ ในชั้นเรียน 3.3 ให้เวลำสำหรับครูที่มีควำมยุ่งยำกในกำรสังเกตกำรณ์ ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้ำงบรรยำกำศในกำรเรียนรู ้ กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs อย่ำงยั่งยืน (ต่อ)
  • 14. 4. เริ่มต้นจำกจุดเล็กๆ (Start small) เริ่มต้นจำกกำรใช้ กลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยปรับขยำย 5. ศึกษำและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลกำรนำไปใช้และกำรสะท้อนผลเพื่อนำมำ กำหนดว่ำ แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรับปรุง หรือยกเลิก 6.วำงแผนเพื่อควำมสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู ้ จำกอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สำเร็จ และทำ ต่อไป ควำมสำเร็จในอนำคต หรือควำมล้มเหลวขึ้นอยู่ กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs อย่ำงยั่งยืน (ต่อ)
  • 15. 7. นำสู่สำธำรณะ (Go public) แผนไหนที่สำเร็จก็จะมี กำรเชิญชวนให้คนอื่นเข้ำมำมีส่วนร่วม ยกย่องและ แลกเปลี่ยนควำมสำเร็จ 8. ฝึ กฝนร่ำงกำยและหล่อเลี้ยงสมอง (Exercise the body & nourish the brain) จัดกิจกรรมที่ได้มีกำร เคลื่อนไหวและ เตรียมครูที่ทำงำนสำเร็จของแต่ละ กลุ่มโดยมีกำรจัดอำหำร เครื่องดื่มที่มีประโยชน์ กลยุทธ ์ในกำรจัดกำรและใช้ PLCs อย่ำงยั่งยืน (ต่อ)
  • 16. PLC มุ่งเน้นที่กำรปฏิบัติกำรสอนและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ประเภทของ PLC แบ่งออกเป็ นประเภทดังนี้ 1. พันธมิตรครู (Teacher partnership) เน้น กำรปรับปรุงยุทธศำสตร ์ กำรสอนที่เฉพำะเจำะจง 2. ทีมตำมระดับชั้นเรียน (Grade-level teams) เน้น กำรร่วมมือในกำร วำงแผนและกำรสอน 3. ทีมตำมสำระกำรเรียนรู ้ (Content-area teams) เน้น กำรปรับปรุง หลักสูตร 4. ทีมระหว่ำงหลักสูตร (Vertical teams) เน้น กำรจัดเตรียมควำม คำดหวังและประสบกำรณ์ของนักเรียน ้ สรุป
  • 18. “PLC คืออะไร? สำคัญอย่ำงไร?.” 2558. [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มำ https://candmbsri.wordpress.com (2 กุมภำพันธ ์เมษำยน 2558).
  • 19. นำงสำวศยำมน จำรัสสกุล รหัสนักศึกษำ 6053200010 นำงสำววรำภรณ์ ประจงเศรษฐ์ รหัสนักศึกษำ 6053200011 นำงสำวดวงเด่น แสนดี รหัสนักศึกษำ 6053200012 จัดทำโดย