ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
นายองอาจ ศรีเพ็ชร
แผȨี่แสึϸ๶ขตพืชพรรณธรรมชาติྺองโลก
โดยทั่วไปลักษณะพืชพรรณธรรมชาติของโลกจะมีความแตกต่าง
กัน แต่ขึ้นอยู่กับปัจจัยการควบคุมหลายอย่าง เช่น ลักษณะ
ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะและสภาพดิน เป็นต้น
โดยจะมีการจาแนกเขตพืชพรรณธรรมชาติของโลก ซึ่งมี
รายละเอียดดังนี้
1. เขตทุ่งน้าแข็ง เป็นเขตที่ไม่มีพืชชนิดใดขึ้น เนื่องจากมีอากาศ
หนาวเย็น มีหิมะปกคลุมตลอดทั้งปี ได้แก่ขั้วโลกเหนือ ขั้วโลก
ใต้ และเกาะกรีนแลนด์
2. เขตภูเขาสูงและทุนดรา
ซึ่งจะมีพืชพรรณธรรมชาติที่พบ เช่น มอส สาหร่าย ตะไคร่น้า และไลเคน
เป็นพืชที่สามารถพบได้ในบริเวณที่มีอากาศหนาวจัดๆ มีน้าแข็งปกคลุม
ตลอดเวลา ส่วนฤดูร้อนจะมีระยะเวลาสั้น ได้แก่ ภูเขาสูง เช่น เทือกเขาแอนดีส
เทือกเขาหิมาลัย บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติก และเกาะกรีนแลนด์ เป็นต้น
3. เขตป่ าสนตอนเหนือหรือป่ าไทกา
โดยจะมีพืชพรรณธรรมชาติที่พบ ได้แก่ ป่ าสน และป่ าไทกา ซึ่งเป็นพืชที่
อยู่ในเขตที่มีละติจูดสูงในฤดูหนาว หรือมีอากาศหนาวจัดและยาวนาน ส่วนฤดูร้อนจะ
มีระยะเวลาสั้น มีอุณหภูมิไม่สูงมากนัก ส่วนพื้นดินในฤดูหนาวนั้นจะปกคลุมไปด้วย
หิมะ และจะมีน้าค้างแข็งฝังตัวอยู่ในดิน
4. เขตป่ าเขตอบอุ่น พืชพรรณธรรมชาติที่พบในเขตนี้ ส่วนใหญ่จะอยู่ใน
เขตละติจูดกลางอยู่ใต้แนวเขตป่ าสน เพราะจะกระจัดกระจายกันเป็น
หย่อมๆ ป่ าเขตอบอุ่นแยกย่อยได้ 4 ประเภท คือ
4.1 ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น
พบทางตอนเหนือของทวีปเอเชีย ตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ
บริเวณที่ราบสูง ปาตาโกเนีย ของทวีปอเมริกาใต้
4.2 ป่ าผสมไม้สนและไม้ผลัดใบ
เช่น ต้นปาล์ม ต้นโอ๊ก พบมากทางตอนเหนือและตอนกลางของ
ทวีปยุโรป เอเชียตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา
เช่น ป่ าไม้แคระ ไม้พุ่มมีหนาม ต้นคอร์ก ต้นโอ๊ก ส้ม มะนาว องุ่น มะกอก
มะเดื่อ เป็นต้น พบมาในประเทศที่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ของทวีปยุโรป
รัฐแคลิฟอร์เนียของสหรัฐอเมริกา ทางซีกโลกใต้ของทวีปแอฟริกาใต้ ชิลี ทาง
ตะวันตกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย แทสเมเนีย และนิวซีแลนด์
4.3 ป่ าผสมไม้สนและไม้ไม่ผลัดใบ
ป่ าชนิดนี้เขียวชุ่มตลอดปี พบในรัฐฟลอริดาของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ตอนเหนือ
ของเม็กซิโก และญี่ปุ่ น ส่วนทางซีกโลกใต้พบในเกาะใต้ของนิวซีแลนด์ บริเวณนี้ฝน
ตกชุก อุณหภูมิสูงในฤดูร้อน ฤดูหนาวอุณหภูมิต่า ส่วนใหญ่ถูกบุกเบิกเพื่อทาการ
เพาะปลูกจึงเหลือพื้นที่น้อยมาก
4.4 ป่าไม้ไม่ผลัดใบ
ซึ่งพืชพรรณธรรมชาติในเขตนี้ส่วนใหญ่จะเป็นป่าไม้ไม่ผลัด
ใบและป่าไม้ผลัดใบ ซึ่งประกอบไปด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิด แต่จะพบ
ได้มากในบริเวณเส้นศูนย์สูตร เพราะจะมีอุณหภูมิสูงตลอดปีและจะมี
ฝนตกชุก
5. เขตป่ าเขตร้อน
มีลักษณะแตกต่างกัน 3 เขต คือ
5.1 ป่าดิบ เป็นป่าที่ขึ้นหนาแน่น
5.2 ป่ามรสุม พบในบริเวณที่มรสุมผ่าน แต่ปริมาณน้าฝนมีมากทา
ให้มีความชื้นในดินมากพอจนเป็นป่าทึบ ส่วนมากอยู่บริเวณภูเขา
ด้านรับลมในเขตมรสุม
5.3 ป่าโปร่ง พบในเขตร้อนบริเวณที่มีฝนตกชุกสลับกับฤดูแล้ง ทา
ให้ป่าไม้บริเวณนี้ไม่หนาแน่นและต้นไม้จะผลัดใบในฤดูแล้ง เช่น
ประเทศไทย พม่า ลาว เป็นต้น
โดยพืชพรรณธรรมชาติในเขตนี้ส่วนใหญ่จะเป็นไม้พุ่มเตี้ย และทุ่งหญ้าสั้น ซึ่งจะ
พบในบริเวณที่มีฝนตกไม่มาก และไม่แห้งจนถึงกับเป็นทะเลทราย ส่วนใหญ่จะอยู่ในละติจูด
กลาง หรือในเขตทุ่งหญ้าอบอุ่นที่สาคัญ เขตทุ่งหญ้าที่อบอุ่นที่สาคัญเช่น ทุ่งหญ้าแพร์รี่ ใน
ทวีปอเมริกาเหนือ ทุ่งหญ้าสเตปป์ และทุ่งหญ้าปัมปา ในทวีปอเมริกาใต้ทุ่งหญ้าเวลด์ ใน
แอฟริกาใต้ปัจจุบันมีการบุกเบิกทาที่เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์พืชที่ปลูก คือ ข้าวสาลี ข้าวโพด
และถั่วเหลือง
6. เขตทุ่งหญ้าอบอุ่น
ซึ่งพืชพรรณธรรมชาติในเขตนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นทุ่งหญ้าและพืชทนแล้ง
โดยจะพบในบริเวณที่มีฝนตกชุก ในฤดูร้อน และอากาศแห้งแล้งในฤดูหนาว เช่น
บริเวณตอนกลางในทวีปแอฟริกา รอบๆ เขตป่าดิบชื้น ฝั่งตะวันตกของมาร์ดากัสการ์
บริเวณทุ่งหญ้ายาโนส ทุ่งหญ้าแคมโปส ทุ่งหญ้ากรันซาโก ในทวีปอเมริกาใต้
7. เขตทุ่งหญ้าเขตร้อน หรือทุ่งหญ้าสะวันนา
8. เขตทะเลทราย
ซึ่งพืชพรรณธรรมชาติที่พบในเขตนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นพืชที่สามารถเก็บน้า
ไว้ในลาต้นได้มาก จึงมีส่วนที่ช่วยป้ องกันการระเหย เช่น กระบองเพชรและไม้พุ่ม
หนาม พบในบริเวณแห้งแล้งมีฝนตกน้อยกว่า 250 มิลลิเมตร และมีการระเหยสูง
ได้แก่ บริเวณตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา และตอนเหนือของประเทศเม็กซิโก
บริเวณทะเลทรายอะตากามา ทะเลทรายที่ราบสูงปาตาโกเนียในทวีปอเมริกาใต้ ตอน
เหนือและตอนใต้ของทวีปแอฟริกา และตอนกลางในทวีปออสเตรเลีย

More Related Content

ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ