ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
8
Most read
18
Most read
19
Most read
เศรษฐศาสตร ์มหภาค
อ.อรคพัฒร ์ บัวลม
รายไึϹประชาชาติ
บทที่ 2
รายไึϹประชาชาติ
แนวคิดรายไึϹประชาชาติ
ความหมายรายไึϹประชาชาติ
ความสําคัญรายไึϹประชาชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้แต่ละประเภท
วิธีคํานวณรายได้
ประชาชาติ
การคํานวณรายไึϹประชาชาติ
รายไึϹประชาชาติที่แท้จริง
ประโยชน์ของรายได้
ประชาชาติ
ข้อจํากัดของรายไึϹประชาชาติ
ความหมายของรายไึϹประชาชาติ
หมายถึง รายได้ของประชากรในประเทศใดประเทศหนึ่งรวมกันใน
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ มูลค่าของสินค้าและบริการรวมทั้งหมดที่ประชากร
ของประเทศนั้นผลิตได้ในรอบระยะเวลาหนึ่ง (โดยปกติคิดระยะเวลา 1 ปี )
ความสําคัญของรายไึϹประชาชาติ
◦ ใช ้เป็นเครื่องมือวัดมูลค่าการผลิต
◦ ใช ้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการกําหนดนโยบายการผลิตในอนาคต
การวัดรายไึϹประชาชาติถูกนํามาใช ้เพื่อเปรียบเทียบความมั่งคั่งของประเทศ
โดยมีสมมุติฐานว่า ประเทศใดมีทรัพยากรมากและมีการใช ้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพสูงก็ย่อมมีรายไึϹประชาชาติสูง ซึ่งอาจแสดงว่าประชาชนในประเทศอยู่
ดีกินดี
ประเทศไทยเริ่มทําบัญชีประชาชาติภายใต้ระบบบัญชีประชาชาติของ
องค์การสหประชาชาติ(UN.SA) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2493
ความสัมพันธ ์ระหว่างรายได้แต่ละประเภท
ประเภทรายไึϹประชาชาติ
1. ผลิตภัณฑ์รวมภายในประเทศ(gross domestic product: GDP)
2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ(gross national product: GNP)
3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (net national product: NNP)
4. รายไึϹประชาชาติ (national income: NI)
5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income : PI)
6. รายได้สุทธิส่วนบุคคล (Disposable Income : DI)
7. รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income)
1. ผลิตภัณฑ์รวมภายในประเทศ(gross domestic product: GDP)
มูลค่ารวมในราคาตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นภายในประเทศใน
ระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติจะวัดในเวลา 1 ปี ค่า GDP เน้นการผลิตที่เกิดขึ้นภายในอาณาเขต
ของประเทศโดยไม่คํานึงว่าหน่วยเศรษฐกิจที่ผลิตนั้นเป็ นหน่วยเศรษฐกิจท้องถิ่นหรือหน่วย
เศรษฐกิจของต่างประเทศ
การคํานวณค่า GDP จะคํานวณเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
เนื่องจากถ้าใช้มูลค่าสินค้าขั้นกลางจะเกิดปัญหาการนับซํ้า (double counting) ซึ่งจะ
ทําให้ได้ค่าสูงกว่าความเป็ นจริง เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าวจึงใช้มูลค่าเพิ่มในขั้นตอนการ
ผลิตสินค้าและบริการ
2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP)
มูลค่ารวมในราคาตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประชาชาติผลิตขึ้นได้โดยใช ้
ปัจจัยการผลิตของประเทศไทยในรอบระยะเวลาหนึ่ง ก่อนหักค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินถาวร โดยปกติ
จะวัดในเวลา 1 ปี
GNP จะเน้นการผลิตที่ใช ้ทรัพยากรของประเทศโดยไม่คํานึงว่าการผลิตนั้นจะเกิดขึ้น
ภายในประเทศหรือต่างประเทศ
GNP = GDP + รายได้สุทธิจากต่างประเทศ
โดยที่ รายได้สุทธิจากต่างประเทศ = รายได้จากต่างประเทศ – รายได้ที่จ่ายให้ต่างประเทศ
3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net Nation Product : NNP)
มูลค่ารวมในราคาตลาดของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประชาชาติผลิตขึ้นได้
โดยใช้ปัจจัยการผลิตของประเทศในรอบระยะเวลาหนึ่งภายหลังหักค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
ถาวรแล้ว โดยปกติจะวัดในเวลา 1 ปี NNP สามารถหาได้จาก
NNP = GNP – ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินถาวร
*สินทรัพย์ถาวร คือ สินทรัพย์ที่มีลักษณะถาวรโดยสภาพ กิจการมีไว้เพื่อใช ้ดําเนินงานตามปกติ เป็ นกรรมสิทธิ์ของ
กิจการอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในอนาคต มีลักษณะคงทน ถาวร และมีอายุการใช ้งานมากกว่า 1 ปี เช่น รถยนต์
อุปกรณ์ เครื่องจักร
*มูลค่าเสื่อมราคาทั้งสิ้น = ราคาทุนของสินทรัพย์ - ราคาซาก
ค่าเสื่อม: http://www2.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO23.htm
4.รายไึϹประชาชาติ หรือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิในราคาต้นทุน
(National Income :NI หรือ NNP at factor cost)
มูลค่ารวมในราคาต้นทุนของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประชาชาติผลิตขึ้นโดย
ใช้ปัจจัยการผลิตของประเทศในระยะเวลาหนึ่งภายหลัง หักค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินถาวร
แล้ว โดยปกติจะวัดในเวลา 1 ปี
โดยมูลค่าราคาต้นทุน หมายถึง ต้นทุนค่าตอบแทนปัจจัยการผลิตที่มีส่วนรวมใน
การผลิต ค่า NNP ในที่นี้เป็ นค่าในราคาต้นทุน สามารถปรับค่าในราคาตลาดเป็ นค่าใน
ราคาต้นทุนได้ดังนี้
NI = NNPราคาตลาด - (ภาษีทางอ้อม - เงินอุดหนุน)
5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income : PI)
รายได้ทั้งหมดที่ครัวเรือนได้รับจากแหล่งต่างๆ ในรอบปี ซึ่งบางส่วนเป็ น
ผลตอบแทนจากการผลิตหรือมีส่วนร่วมในการผลิตและบางส่วนได้รับในรูปของเงินโอน
รายได้ส่วนบุคคลจะคิดเฉพาะรายได้และเงินโอนที่ครัวเรือนได้รับเท่านั้น
PI= NI – (ภาษีเงินได้นิติบุคคล+ภาษีประกันสังคม+กําไรที่ยังไม่ได้จัดสรร)
+ (เงินโอน+ดอกเบี้ยรัฐบาล+เงินปันผลจากบริษัท)
6. รายได้สุทธิส่วนบุคคล (Disposable Personal Income: DI)
รายได้ส่วนบุคคลหลังจากที่ครัวเรือนจ่ายพันธะผูกพันต่างๆ ได้แก่ ภาษีทางตรง
เงินโอนให้รัฐบาล และเงินจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมแล้ว รายได้ส่วนที่เหลือเป็ นรายได้สุทธิ
ส่วนบุคคลที่ประชาชน (ครัวเรือน) สามารถนําไปใช้จ่ายในด้านต่างๆ ได้ เช่น บริโภค ชําระ
ค่าดอกเบี้ยหนี้บริโภค เงินโอนให้ต่างประเทศ และเงินออมส่วนบุคคล (personal savings)
DI= รายได้ส่วนบุคคล – ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา - พันธะผูกพันอื่น ๆ
รายไึϹประชาชาติ
แนวคิดรายไึϹประชาชาติ
ความหมายรายไึϹประชาชาติ
ความสําคัญรายไึϹประชาชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้แต่ละประเภท
วิธีคํานวณรายได้
ประชาชาติ
การคํานวณรายไึϹประชาชาติ
รายไึϹประชาชาติที่แท้จริง
ประโยชน์ของรายไึϹประชาชาติ
ข้อจํากัดของรายไึϹประชาชาติ
การคํานวณรายไึϹประชาชาติ
มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
ที่ประเทศผลิตได้ภายในประเทศ ในระยะเวลา
หนึ่งโดยปกติคิดระยะเวลา 1 ปี โดยไม่คํานึงถึง
ว่าทรัพยากรที่นํามาผลิตสินค้านั้นเป็ นของชาติ
ใด ซึ่งตัวเลข GDP ที่คํานวณได้จะแสดงกําลัง
ความสามารถในการผลิตของประเทศ
เ ร า ส า ม า ร ถ คํ า น ว ณ ห า ร า ยไ ด้
ประชาชาติ ได้จากวงจรที่แสดงการหมุนเวียน
ของรายได้ ผลผลิตและค่าใช้จ่าย ดังรูป
หน่วย
ครัวเรือน
หน่วยผลิต
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ
ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กําไร
สินค้า และบริการ
ค่าใช ้จ่ายในการซื้อสินค้า และบริการ
การคํานวณรายไึϹประชาชาติ
วิธีการคํานวณรายไึϹประชาชาติ 3 วิธี
1. วิธีการคํานวณด้านผลิตภัณฑ์(Product Approach)
2. วิธีการคํานวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
3. วิธีการคํานวณด้านรายได้ (Income Approach)
ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากันเพราะเป็ นมูลค่าของสิ่งเดียวกันแต่วัดคนละด้าน ทั้งสามวิธีต่าง
อยู่ในวงจรกระแสการหมุนเวียนของผลิตภัณฑ์ รายได้ และรายจ่าย ตัวแปรทั้งสามเป็ นสิ่ง
เดียวกันมีความเท่ากันเป็ นเอกลักษณ์ (identities) สามารถแสดงสมการเอกลักษณ์ได้ดังนี้
รายจ่าย = มูลค่าผลิตภัณฑ์= รายได้
1. วิธีการคํานวณด้านผลิตภัณฑ์(Product Approach)
การรวบรวมมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (final goods and services) ที่
ผลิตด้วยทรัพยากรของประเทศภายในระยะเวลา 1 ปี ใช้มูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอน
การผลิตสินค้าและบริการในการคํานวณเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการนับซํ้าในมูลค่าของ
ผลิตภัณฑ์ซึ่งจะทําให้ค่าที่คํานวณได้สูงกว่าความเป็ นจริง
มูลค่าเพิ่ม = มูลค่าของผลิตภัณฑ์ที่ขาย – มูลค่าของผลิตภัณฑ์ที่ซื้อมาใช้ในการผลิต
*สินค้าและบริการขั้นสุดท้าย = สินค้าและบริการที่ผู้บริโภคซื้อไปเพื่อการอุปโภคบริโภค
โดยตรง
ตัวอย่าง การคํานวณรายได้โดยวิธีมูลค่าเพิ่ม
ขั้นตอนการผลิต มูลค่าขาย
(บาท)
มูลค่าสินค้าขันกลาง
(บาท)
มูลค่าเพิ่ม
(บาท)
โรงงานหนังดิบ 250 0 250
โรงงานฟอกหนัง 600 250 350
โรงงานตัดเย็บกระเป๋ า 1,400 600 800
ผู้ค้าส่ง 1,800 1,400 400
ผู้ค้าปลีก 2,500 1,800 700
ผลรวม 6,550 4,050 2,500
2.วิธีการคํานวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
วัดรายจ่ายรวมของหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ ที่จ่ายเพื่อซื้อผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายที่ผลิต
ขึ้นในรอบปี นั้น ผลรวมของรายจ่ายเหล่านี้เรียกว่า รายจ่ายประชาชาติ (National
expenditure)
GDP = C + I + G + (X – M)
โดย : GDP = ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น
C = รายจ่ายในการบริโภค
I = รายจ่ายในการลงทุนเบื้องต้น
G = รายจ่ายซื้อสินค้าและบริการ
(X-M) = มูลค่าการส่งออกสุทธิ (มูลค่าการส่งออก – มูลค่าสินค้านําเข้า)
2.1 รายจ่ายเพื่อการอุปโภค และบริโภคของภาคเอกชน
(personal consumption expenditure : C)
ค่าใช้จ่ายของฝ่ ายครัวเรือนในการซื้อสินค้าและบริการต่างๆ โดยแบ่งเป็ นสินค้าถาวร
สินค้าไม่ถาวร และรายจ่ายค่าบริการ
ค่าใช้จ่ายที่ ไม่นํามาคํานวณในรายไึϹประชาชาติ
1. ค่าใช้จ่ายซื้อสินค้ามือสอง
2. เงินโอน
2.2 รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล
(Government purchases of goods and services : G)
รายจ่ายของรัฐบาลในการซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายจากองค์กรธุรกิจเอกชน
2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุนทั้งหมดของเอกชนภายในประเทศ
(gross private domestic investment expenditure : I)
◦ รายจ่ายเพื่อการก่อสร ้างใหม่
◦ รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าทุนใหม่
◦ ส่วนเปลี่ยนแปลงสินค้าคงเหลือ
2.4 การส่งออกสุทธิ (net exports of goods and services : X-M)
การส่งออกสุทธิ = มูลค่าสินค้าส่งออก - มูลค่าสินค้านําเข้า
*ส่วนเปลี่ยนแปลงสินค้าคงเหลือ = สินค้าคงเหลือปลายปี - สินค้าคงเหลือต้นปี
3.วิธีการคํานวณด้านรายได้ (Income Approach)
การวัดรายได้ที่เกิดจากการผลิต GDP ในรอบปีนั้น แบ่งได้ 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 เป็ นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิตต่างๆ
ส่วนที่ 2 มิได้เป็ นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิตแต่มีการนํามาคิดในการตั้งราคาขายใน
ตลาด เช่น ภาษีทางอ้อม เป็ นต้น สามารถเขียนอยู่ในรูปสมการได้ดังนี้
GDP = W + R + I + P + PI + GR + Ti + D
W = ค่าตอบแทนแรงงาน
R = รายได้ในรูปค่าเช่า
I = รายได้จากดอกเบี้ยสุทธิ
P = กําไรของนิติบุคคล
PI = รายได้จากองค์กรที่มิใช่นิติบุคคล
GR = รายได้ของรัฐบาลจากทรัพย์สินและการจัดการ
Ti = ภาษีทางอ้อมที่หักเงินอุดหนุนแล้ว
D = ค่าเสื่อมราคา
รายไึϹประชาชาติที่แท้จริง
รายไึϹประชาชาติที่แท้จริง (Money GNP and Real GDP) เป็ นมูลค่าของ
ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายในปีใดปีหนึ่งที่คิดในราคาตลาดหรือราคาต้นทุนของปีที่กําหนดให้เป็ น
ปีฐาน (base year) หรือมีการปรับการเปลี่ยนแปลงของราคาในแต่ละปีออกแล้วเพราะคิด
ในราคาคงที่ของปีที่กําหนดให้เป็ นปีฐาน
*ต้องหาดัชนีราคาผู้บริโภคของปีนั้นๆก่อน
Real GDP ปีที่ต้องการ = ( Money GNPปีที่ต้องการ*ดัชนีราคาปีฐาน)
ดัชนีราคาผู้บริโภคปีที่ต้องการ
ประโยชน์ของรายไึϹประชาชาติ
◦ ใช้ในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
◦ ใช้เปรียบเทียบมาตราฐานการครองชีพของประชาชน
◦ ใช้เป็ นเครื่องมือในการกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ
ข้อจํากัดของรายไึϹประชาชาติ
◦ ไม่ได้รวมสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้ทั้งหมด
◦ ไม่ได้สะท้อนให้เห็นคุณภาพของสินค้าและบริการที่ผลิตได้
◦ ไม่แสดงให้เห็นการกระจายรายได้ระหว่างบุคคล
◦ ไม่สามารถแสดงให้เห็นส่วนประกอบของผลผลิต
◦ ไม่คํานึงถึงค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่สังคม

More Related Content

What's hot (20)

PDF
บทที่ 9 รายไึϹประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
PDF
Macro Economics c4 การกำหนดรายไึϹประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Ornkapat Bualom
PDF
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
PPTX
หน่วยที่ 9รายไึϹประชาชาติ
Bangon Suyana
DOC
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
PPT
การเงิȨละการธȨคาร
tumetr1
PDF
๶ครื่องชี้วัดการเจริญ๶ติบโตทาง๶ศรษฐกิจ
Pannatut Pakphichai
PDF
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Ornkapat Bualom
PDF
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายไึϹประชาชาติ
Ornkapat Bualom
PPT
การกำหนดรายไึϹประชาชาติดุลยภาพ
tumetr1
PDF
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
PPTX
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Pattapong Promchai
PDF
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงาȨางทัศนศิลป์
พัน พัน
PDF
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
DOCX
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
PPTX
ตลาดในระบบ๶ศรษฐกิจ
PariwanButsat
PDF
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
PDF
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
PPTX
Unit 4 costs production
savinee
บทที่ 9 รายไึϹประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
Macro Economics c4 การกำหนดรายไึϹประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Ornkapat Bualom
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
หน่วยที่ 9รายไึϹประชาชาติ
Bangon Suyana
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
การเงิȨละการธȨคาร
tumetr1
๶ครื่องชี้วัดการเจริญ๶ติบโตทาง๶ศรษฐกิจ
Pannatut Pakphichai
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Ornkapat Bualom
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายไึϹประชาชาติ
Ornkapat Bualom
การกำหนดรายไึϹประชาชาติดุลยภาพ
tumetr1
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Pattapong Promchai
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงาȨางทัศนศิลป์
พัน พัน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
ตลาดในระบบ๶ศรษฐกิจ
PariwanButsat
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
Unit 4 costs production
savinee

Similar to Macro Economics c2 รายไึϹประชาชาติ (20)

PPT
Presentc6
Chaira Nawar
PDF
MACRO ECONOMICS.pdf
puchongsanoppa
PDF
๶ศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
Apple Natthakan
PDF
Economy ppt-05
Chompoo Yao
PPTX
รายไึϹครัว๶รือน
Boom Rakkanchanan
PPT
Tax 63
gg ll
PPT
Development
Vilaiwun Bunya
PPT
Ec961
chanoot29
PPT
มหภาค1
jimkongkaew
PPT
Ch3 and 4
jimkongkaew
PPT
Ch3 and 4
jimkongkaew
PPT
Seminar เศรษฐกิจโลก
Vilaiwun Bunya
PDF
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ...
FURD_RSU
PPT
๶ศรษฐศาสตร์
Krumai Kjna
PDF
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้น๶ศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
PDF
สรุปสาระที่ 3. ๶ศรษฐศาสตร์
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
Presentc6
Chaira Nawar
MACRO ECONOMICS.pdf
puchongsanoppa
๶ศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
Apple Natthakan
Economy ppt-05
Chompoo Yao
รายไึϹครัว๶รือน
Boom Rakkanchanan
Tax 63
gg ll
Development
Vilaiwun Bunya
มหภาค1
jimkongkaew
Ch3 and 4
jimkongkaew
Ch3 and 4
jimkongkaew
Seminar เศรษฐกิจโลก
Vilaiwun Bunya
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ...
FURD_RSU
๶ศรษฐศาสตร์
Krumai Kjna
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้น๶ศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
สรุปสาระที่ 3. ๶ศรษฐศาสตร์
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
Ad

More from Ornkapat Bualom (8)

PDF
ความรู้เบื้องต้น๶กี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
Ornkapat Bualom
PDF
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Ornkapat Bualom
PDF
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Ornkapat Bualom
PDF
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Ornkapat Bualom
PDF
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
PDF
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
PDF
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
Ornkapat Bualom
PDF
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทาง๶ศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
ความรู้เบื้องต้น๶กี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
Ornkapat Bualom
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Ornkapat Bualom
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Ornkapat Bualom
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Ornkapat Bualom
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
Ornkapat Bualom
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทาง๶ศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
Ad

Macro Economics c2 รายไึϹประชาชาติ