ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาȨอมพิวเตอร์
คอม
ความหมายของโครงงาน
คาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้
ความหมายไว้มากมาย ให้ความหมาย
โครงงานว่า เป็นการทากิจกรรมที่เปิดโอกาส
ให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติ
ด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษา
ของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การ
วางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือ
ปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการ
วัดผลและการประเมินผล
ความหมายของโครงงาȨอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษา
ปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา
พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์
เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะ
พื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทา
โครงงานป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนา
แล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิด
ดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา
โปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้
นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา
ขั้นตอนการทาโครงงาȨอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงาȨอมพิวเตอร์ มักจะได้มา
จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามา
พัฒนาโครงงาȨอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการ
สนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคล
อื่นๆ
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. งานอดิเรกของนักเรียน
6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงาȨอมพิวเตอร์
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามา
พัฒนาโครงงาȨอมพิวเตอร์ ควร
พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะ
พื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่
จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุ
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะ
ค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและ
แหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร
และแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ
คาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้
นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนด
ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้
เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น
1. จะทา อะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
3. การจัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา
จาเป็นต้องกาหนดกรอบแนวคิดและวงแผนการ
พัฒนาล่วงหน้าเพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้
ของโครงงาน ขั้นตอนที่สาคัญคือ ศึกษาค้นคว้า
เอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบการพัฒนา
เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือน
ว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนา
ตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับ
โครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และ
ตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน
เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท
และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลาย
รูปแบบต่างๆ

More Related Content

คอม