พรบ. 2545
- 3. หลักการจัดการศึกษา
• การศึกษาตลอดชีวิต เป็นการศึกษาสาหรับประชาชน ซึ่งมีทั้ง
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาตลอดชีวิต เป็นการพัฒนา
คุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง
• สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา นอกจากการจัดการศึกษาในภาครัฐ บุคคล
ครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา องค์กรเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น สถาบันทางสังคมอื่น ๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
จัดการศึกษา
- 5. หลักการจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
• นโยบาย มีความเป็นเอกภาพ มีความ
หลากหลายในการปฏิบัติ
• การกระจายอานาจ จากส่วนกลางสู่
ท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษาและสภาพ
การศึกษา ให้มีความเป็นอิสระในการ
บริหารจัดการ
• มาตรฐานการศึกษา กาหนด
มาตรฐานการศึกษา จัดระบบการ
ประกันคุณภาพทุกระดับทุกประเภท
• การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
• ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆมาใช้
ในการจัดการศึกษา ให้ถือว่าทุกคน
ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
• การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว
ชุมชนและองค์กรชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และ
สถาบันการศึกษา โดยใช้หลักการ
ของประชาธิปไตย
- 7. ความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเอง
กับสังคม รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ความเป็นมาของสังคมไทย และระบบการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ
นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตาม
ความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจและ
ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา
และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
ความรู้และทักษะ
ในการประกอบอาชีพ
และการดารงชีวิตอย่างมีความสุข
ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์
และด้านภาษาเน้นการใช้
ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา
ภูมิปัญญาไทย
และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
- 10. • การดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
– ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ควรใช้คาถามหรือกิจกรรมที่ทาให้เกิดความ
สงสัยใคร่รู้ และผู้สอนควรจะทาตัวเป็นเพื่อนที่ดีของผู้เรียนสามารถ
ช่วยเหลือได้ทุกเรื่อง
– ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมโดยใช้สื่อที่
หลากหลายแบบองค์รวม ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน
– ขั้นวิเคราะห์ อภิปรายผลงาน สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันด้วยการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ร่วมกันโดยมีผู้สอนเป็นคนชี้แนะ สังเกต ให้ข้อมูล
ย้อนกลับ กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจค้นหาความรู้
ตัวอย่างการจัดกระบวนเรียนรู้
- 11. การประเมินผล
• การประเมินผล ผู้สอนต้องศึกษามาตรา 26 ของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ ในสาระการประเมินเกี่ยวกับการพัฒนาการของ
ผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ และการทดสอบเพื่อพัฒนาค้นหาศักยภาพ จุดเด่น จุดด้อยของ
ผู้เรียน และต้องศึกษาเกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริง ให้ครบทุก
ด้านทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย โดยใช้เทคนิค และ
เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และ
เกณฑ์การประเมิน