ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
พฤษภา
ทมิฬ
เสนอ
อาจารย์ศุภชัย โชติ
กิจภิวาทย์
พลเอกชาติชาย
ชุณหะวัณ
พลเอกสุนทร
คงสมพงศ์
พลเอกสุจินดา
คราประยูร
23 กุมภาพันธ์ 2534 คณะทหารภายใต้การนำาของ พล
เอกสุนทร คงสมพงศ์และพลเอกสุจินดา คราประยูร
ในนามของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
(รสช.) เข้ายึดอำานาจการปกครองรัฐบาลพลเอกชาติ
ด้วยเหตุผล 5
ประการดังนี้ ?
• รัฐบาลมีพฤติการณ์ฉ้อ
ราษฎร์บังหลวง
• ข้าราชการการเมืองใช้
อำานาจกดขี่ข่มเหง
ข้าราชการประจำา
• รัฐบาลเป็นเผด็จการทาง
รัฐสภา
• รัฐบาลพยายามทำาลาย
ล้างสถาบันทหาร
• รัฐบาลบิดเบือนคดีล้มล้าง
คำามั่นสัญญา
ของรสช. ?
คำามั่นสัญญาที่ รสช. ให้
ไว้กับประชาชนคือ การ
คืนประชาธิปไตยโดยเร็ว
ภายในระยะเวลา 6 เดือน
หรืออย่างช้า ไม่เกิน 14
เดือน
ในระหว่างที่มีการร่าง
รัฐธรรมนูญและการแปร
ญัตติรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็น
ประชาธิปไตยได้เกิดการ
ประท้วงจากหลายฝ่าย
ทั้งนักวิชาการ
นักศึกษา นิสิต นักการ
เมืองและประชาชนทั่วไป
การประท้วงดังกล่าว ทุก
ฝ่ายประกาศจุดยืน เรียก
ร้องประชาธิปไตยโดย
สันติวิธี
แม้บางร่างจะได้รับ
การแก้ไขแต่ไม่เป็นที่
พอใจ จนพลเอกสุ
จินดา ต้องออกมา
ประกาศว่าจะไม่เป็น
นายกรัฐมนตรี พร้อม
พลเอกสุจินดา ครา
ประยูร
ประกาศไว้ ณ หอ
ประชุมกองทัพบก
“ที่พูดกันว่าสภารสช.จะสืบทอดอำานาจโดยการใช้
รัฐธรรมนูญนั้น เราขอยืนยันว่าจะไม่มีการสืบทอด
อำานาจโดยการใช้รัฐธรรมนูญ เราขอยืนยันว่าจะ
ไม่มีการสืบทอดอำานาจโดยสมาชิกสภารสช.จะไม่
เข้าไปเกี่ยวข้องกับการจัดตั้งรัฐบาล หลังจากการ
เลือกตั้งแล้วสภารสช.ก็หมดไปเองโดยอัตโนมัติ ผู้
บัญชาการเหล่าทัพก็จะกลับไปทำาหน้าที่ในกองทัพ
เพียงอย่างเดียว และที่พูดกันว่าพลเอกสุจินดาจะ
เป็นนายกรัฐมนตรี พลอากาศเอกเกษตรจะเป็น
นายกรัฐมนตรีนั้น ขอยืนยันในที่นี้ว่า ทั้งพลเอกสุ
จินดาและพลอากาศเอกเกษตรจะไม่เป็นนายก
รัฐมนตรี”
4 ธันวาคม 2534 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงมีพระราชดำารัสมอบฉันทะให้ผู้ปกครอง
แก้ไข หลังจากการเลือกตั้ง การชุมนุมจึงยุติลง
9 ธันวาคม 2543 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญการ
รัฐธรรมนูญของ
คณะที่ทำำกำรปฏิวัติ
• ประธำนวุฒิสภำเป็นประธำนรัฐสภำ
• กำรแต่งตั้งนำยกรัฐมนตรีเป็นหน้ำที่ของ
ประธำนรสช.
• กำรให้อำำนำจที่เกินไปแก่วุฒิสภำ
และอีกหลำยประเด็นแสดงถึงกติกำที่ไม่เป็น
ระบุ
ให้
ระหว่ำงรอกำรคืน
อำำนำจให้แก่
ประชำชนเกม
กำรเมืองเป็นไป
อย่ำงร้อนแรง
พรรคกำรเมือง 5
พรรค คือ
สำมัคคีธรรม ชำติ
ไทย กิจสังคม
ประชำกรไทยและ
รำษฎร ได้รวมกลุ่ม
กันตั้งพรรคกำรเมือง
ตั้งแต่ก่อนกำรสมัคร
22 มีนำคม 2535 วัน
เลือกตั้งสมำชิกสภำผู้
แทนรำษฎร มีกำร
ประกำศแต่งตั้ง
สมำชิกวุฒิสภำ
จำำนวน 270 คน โดยมี
ประธำนสภำรสช.เป็น
ผู้รับสนองพระ
รำชโองกำร
และในคืนวันเลือกตั้งได้มีกำรประชุมของหัวหน้ำ
พรรคกำรเมืองที่ได้รวมตัวกันไว้ก่อนกำรเลือกตั้ง
เป็นกำรประชุมร่วมกับสภำรสช.ที่เรือนรับรองใน
กองทัพอำกำศ ขณะที่ 5 พรรคกำรเมืองเสนอและ
แต่ในวันที่ 7 เมษำยน 2535
ประธำนสภำรสช.
กลับนำำชื่อพลเอกสุจินดำ
ครำประยูร ขึ้นทูลเกล้ำฯ ขึ้น
ดำำรงตำำแหน่งนำยก
รัฐมนตรี โดยกำรเห็นชอบ
ของพรรคกำรเมืองทั้ง 5
พรรค
พลเอกสุจินดำ ครำประยูร
อธิบำยถึงควำมจำำเป็นที่
ต้องขึ้นรับตำำแหน่งนำยก
รัฐมนตรีว่ำ “เสียสัตย์เพื่อ
ชำติ”ทั้งนี้ก็ด้วยเหตุผลที่ว่ำ เพระ
ควำมเป็นทหำรที่เรำมีคติ
ประจำำใจว่ำ เรำยอมเสีย
สละได้แม้กระทั่งชีวิตเพื่อ
ประเทศชำติ เพรำะฉะนั้น
เมื่อเกิดควำมจำำเป็นที่เรำจะ
ต้องทำำงำนเพื่อประเทศชำติ
01.00 น.ของวัน
ที่ 8 เมษำยน
2535 เรืออำกำศ
ตรีฉลำด วร
ฉัตร อดีต
ส.ส.หลำยสมัย
อดข้ำวประท้วง
หน้ำรัฐสภำต่อ
ต้ำนนำยก
รัฐมนตรีที่มำ
จำกคนกลำง
17 เมษำยน
2535 แต่งตั้ง
คณะรัฐมนตรี
โดยมีผู้ที่ถูก
คณะ รสช.
ประกำศยึด
ทรัพย์ร่วมเป็น
มีกำรชุมนุมที่ลำนพระบรม
รูปทรงม้ำ ปรำศรัยคัดค้ำน
พลเอกสุจินดำ ครำประยูร
เป็นนำยกรัฐมนตรีและมี
กำรนัดรวมตัวกันใหม่ใน
วันที่ 4 พฤษภำ ที่ท้องสนำม
หลวง พรรคฝ่ำยค้ำน 4
พรรคร่วมกันเสนอแก้ไข
รัฐธรรมนูญ 4 ประเด็น4 พรรคฝ่ำยค้ำนขึ้น
ปรำศรัยท่ำมกลำงผู้คน
หนำแน่นที่ท้องสนำม
หลวง พลตรีจำำลอง
ศรีเมือง ประกำศอด
อำหำรทุกชนิดยกเว้นนำ้ำ
5 พฤษภำคม 2535 เวทีกำรชุมนุมหน้ำรัฐสภำมี
ประชำชนเพิ่มมำกขึ้น มีกำรบริจำคเงินเพื่อ
สนับสนุนกำรชุม
6 พฤษภาคม 2535 เป็นวันแรกของการแถลง
นโยบาย สมาชิกพรรคฝ่ายค้านพร้อมใจกัน
แต่งชุดดำา และลุกออกจากที่ประชุมที่พลเอกสุ
จินดา เริ่มแถลงนโยบาย การอภิปรายในสภา
ฝ่ายค้านถล่มรับบาลอย่างหนัก นอกสภาดัชนี
หุ้นตกกว่า 43 จุด และเมื่อเวลา 21.00
พลเอกสุจินดา คราประยูรแถลงนโยบายเป็น
วันที่ 2 ตอนท้ายกล่าวว่ามีผู้นำาในสภาบางคน
ฝักใฝ่ระบบเปรซิเดียมและลัทธิศาสนาอื่น
ตอนคำ่าผู้ชุมนุมคัดค้านย้ายการประชุมที่หน้า
รัฐสภามาสนามหลวงแต่รัฐบาลอ้างว่าต้องใช้
รัฐบาลส่งคนมาบอกว่า จะใช้พื้นที่ท้องสนาม
หลวงในการจัดพิธีทางศาสนา พลตรีจำาลอง ศรี
เมืองจึงเคลื่อนย้ายการชุมนุมจากสนามหลวงไป
ลานพระบรมรูปแต่ถูกสกัดกั้นจึงอยู่ที่ถนน
ราชดำาเนินกลางบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
พลตรีจำาลอง ศรีเมืองขอมติยุติการอด
อาหาร และลาออกจากหัวหน้าพรรค พลัง
ธรรม
ตกลงยุติการประท้วงชั่วคราวเพื่อรอผลการขอ
แก้ไขรัฐธรรมนูญ นัดฟังผล 17 พ.ค. 2535
ชุมนุมใหญ่ที่ท้องสนาม
หลวงจนถึง 21.00 น.
จึงเริ่มย้ายขบวนไป
ทำาเนียบรัฐบาล แต่ถูก
สกัดที่สะพานผ่านฟ้า
00.30 น. ประกาศภาวะฉุกเฉิน
01.00 น. เริ่มปราบปราม
ประชาชน
15.30 น. พลตีจำาลอง ศรีเมือง ถูก
ตลอดคืนวันที่ 18 ต่อวันที่ 19 มีการใช้อาวุธ
ปราบปรามประชาชนหลายจุด โดยเฉพาะ
บริเวณโรงแรมรัตนโกสินทร์ จับกุมประชาชน
การชุมนุมที่มหาวิทยาลัยรามคำาแหงหนาแน่นขึ้น
การชุมนุมที่ถนนราชดำาเนินน้อยลง เวลาประมาณ
23.30 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ
ให้ พลเอกสุจินดา คราประยูร และพลตีจำาลอง
เย็นศิระเพราะ
พระบริบาล
พลเอกสุจินดา คราประยูร ลาออกจาก
ตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี
พฤษภาทมิฬ

More Related Content

พฤษภาทมิฬ