ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กฎหมายลักษณะȨติกรรม
 นิติกรรม หมายถึง การกระทาใดๆที่ทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
และด้วยสมัครใจ มุ่งโดยผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
 นิติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการกระทาของบุคคล
หรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งเหตุการณ์นั้นไม่มีผู้ใดสมัครใจจะ
ให้เกิดผลทางกฎหมาย แต่กฎหมายได้กาหนดให้เหตุการณ์
เหล่านั้นมีผลทางกฎหมายและก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
ขึ้น ซึ่งแตกต่างจากนิติกรรมอันเป็นการกระทาลงโดยสมัครใจ
เพื่อมุ่งจะก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย
1. เป็ นการแสดงเจตนาของบุคคล นิติกรรมต้องเป็นการกระทาของ
บุคคล แต่หากเป็นการกระทาของสัตว์หรือสิ่งของย่อมไม่เป็นไปตามนิติกรรม
2. เป็ นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย นิติกรรมต้องเป็นการกระทาที่
ชอบหรือถูกต้องตามกฎหมาย หากบุคคลเจตนาทานิติกรรมโดยไม่ชอบด้วย
กฎหมาย แม้บุคคลนั้นจะประสงค์ให้เกิดผลผูกพันก็ตาม กฎหมายก็จะกาหนดให้
นิติกรรมนั้นเสียไป (โมฆะ)
3. เป็ นการกระทาที่มุ่งผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หากบุคคล
กระทาการโดยไม่มุ่งผูกพันทางกฎหมายต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นการพูดจา
ล้อเลียน การแสดงอัธยาศัยไมตรีทางสังคม หรือการเชื้อเชิญ การกระทาเหล่านี้
ย่อมไม่เป็นนิติกรรม
4. เป็ นการกระทาโดยสมัครใจ หมายถึง การแสดงเจตนาโดยอิสระ
และตรงกับความรู้สึกนึกคิด ปราศจากความสาคัญผิดหรือถูกทากลฉ้อฉล
หลอกลวงหรือขู่เข็ญบังคับ หากบุคคลแสดงเจตนาโดยไม่สมัครใจอาจทาให้นิติ
กรรมนั้นมีผลเป็นโมฆะหรือโมฆียะแล้วแต่กรณี
 แบ่งตามฝ่ายที่เข้าทานิติกรรม สามารถแบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท
1. นิติกรรมฝ่ายเดียว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ
บุคคลเพียงฝ่ายเดียว เมื่อบุคคลฝ่ายเดียวได้แสดงเจตนาทานิติกรรมก็เกิดผลเป็นนิติ
กรรมทันที
Ex. การทาพินัยกรรม , การปลดหนี้ , การบอกเลิกสัญญา
2. นิติกรรมหลายฝ่าย หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ
บุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ทั้งนี้แต่ละฝ่ายอาจเป็นบุคคลเพียงคนเดียวหรือหลายคน
ก็ได้ลาพังแต่การแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเพียงฝ่ายเดียวไม่อาจ
เกิดผลเป็นนิติกรรมประเภทนี้ได้นิติกรรมประเภทนี้เรียกว่า “ สัญญา ”
Ex. สัญญาซื้อขาย , สัญญากู้ยืมเงิน , สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 แบ่งตามเวลาที่นิติกรรมมีผล สามารถแบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท
1. นิติกรรมที่ผลในระหว่างที่ผู้ทานิติกรรมมีชีวิตอยู่ หมายถึง นิติกรรมที่
ผู้กระทามีเจตนาจะให้มีผลในระหว่างที่ตนมีชีวิตอยู่ ซึ่งอาจเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว
หรือนิติกรรมหลายฝ่ายก็ได้
Ex. การปลดหนี้ , การบอกเลิกสัญญา , สัญญาให้โดยเสน่หา
2. นิติกรรมที่มีผลต่อเมื่อผู้ทานิติกรรมตายแล้ว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้น
แล้วในขณะที่ผู้ทามีชีวิตอยู่ แต่ผู้ทานิติกรรมมีเจตนาจะให้นิติกรรมนั้นมีผลเมื่อตน
ถึงแก่ความตาย
Ex. การทาพินัยกรรม
 แบ่งตามวิธีการที่ทาให้นิติกรรมสมบูรณ์ สามารถแบ่งออกได้
เป็น 2 ประเภท
1. นิติกรรมี่สมบูรณ์ด้วยการแสดงเจตนา หมายถึง นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์
และใช้บังคับได้ทันทีเมื่อมีการแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม
Ex. สัญญาจ้างแรงงาน
สัญญาจ้างทาของ
2. นิติกรรมที่สมบูรณ์เมื่อได้ทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด หมายถึง นิติ
กรรมที่ลาพังเพียงแต่การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมยังไม่ทาให้นิติกรรมนั้น
สมบูรณ์ นิติกรรมจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้ทานิติกรรมได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่
กฎหมายกาหนดไว้
Ex. สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
สัญญาเช่าซื้อ
สัญญาจานอง
นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์ หมายถึง นิติกรรมที่มีความผิดปกติบางอย่างใน
การก่อนิติกรรม ซึ่งความผิดปกตินี้ทาให้กฎหมายไม่ยอมรับให้นิติกรรมไม่มีผล
ในทางกฎหมายเลย อันได้แก่ โมฆะกรรม หรือยอมรับให้มีผลในทางกฎหมาย
เพียงชั่วคราวจนกว่าจะมีการบอกล้าง อันได้แก่ โมฆียกรรม
โมฆะกรรม หมายถึง การที่นิติกรรมเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผลใดๆ ในทาง
กฎหมายมาตั้งแต่ทานิติกรรม ความเสียเปล่านั้นเกิดขึ้นทันทีที่มีการทานิติกรรมที่
กฎหมายกาหนดไห้มีผลเป็นโมฆะ โดยผู้ทานิติกรรมไม่ต้องดาเนินการใดๆ เมื่อนิติ
กรรมเสียเปล่าจึงไม่สามารถให้สัตยาบันได้
เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็ นโมฆะ
๑. วัตถุประสงค์ ๔. การแสดงเจตนาลวง
๒. แบบ ๕. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญ
๓. การแสดงเจตนาซ้อนเร้น
ผลของโมฆะกรรม
นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะจะเสียเปล่าโดยไม่ก่อให้เกิดผลใดๆทั้งสิ้น สิทธิและ
หน้าที่ระหว่างคู่กรณีมีผลเสมือนไม่ได้ทานิติกรรมกันเลย นิติกรรมที่เป็นโมฆะจึงไม่
อาจให้สัตยาบันแก่กันได้อันแตกต่างจากนิติกรรมที่เป็นโมฆียะ และผู้มีส่วนได้เสีย
คนใดคนหนึ่งชอบที่จะตกความเปล่าของนิติกรรมที่เป็นโมฆะขึ้นกล่าวอ้างเมื่อใดก็
ได้
โมฆียกรรม หมายถึง นิติกรรมที่กฎหมายได้ถือว่าสมบูรณ์อยู่จนกว่าจะ
ถูกบอกล้าง เนื่องจากเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะนั้นยังบกพร่องไม่ร้ายแรง
ถึงขนาดที่จะทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ การสมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้างจะ
ช่วยให้ผู้ทานิติกรรมมีโอกาสตัดสินใจว่าจะผูกพันตนเองตามนิติกรรมหรือบอกล้าง
เสียเพื่อให้นิติกรรมสิ้นผลไป ซึ่งจะทาให้สถานะทางกฎหมายเป็นฐานะเดิมก่อนที่
จะทานิติกรรม
เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็ นโมฆียะ
๑. ความสามารถ
๒. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในทางคุณสมบัติ
๓. การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล
๔. การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่
ผลของโมฆียกรรม
นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมมีผลสมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้าง โดย
ผู้ทานิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมสามารถเลือกได้ว่าจะให้สัตยาบันเพื่อให้นิติกรรม
มีผลต่อไปหรือจะบอกล้างนิติกรรมนั้นเสียตั้งแต่เริ่มต้นอันจะทาให้สถานะทาง
กฎหมายกลับคืนสู่ฐานะเดิม
 การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้า หมายถึง การแสดงเจตนาที่ผู้แสดง
เจตนาสามารถติดต่อสื่อสารทาความเข้าใจต่อผู้รับการแสดงเจตนาได้ทันทีโดยไม่
ต้องรอ เช่น การคุยกันต่อหน้า การคุยกันทางโทรศัพท์
การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า หมายถึง การแสดงเจตนาต่อ
ผู้รับการแสดงเจตนาซึ่งมีลักษณะที่ผู้รับไม่สามารถทราบเจตนาของผู้แสดงเจตนา
ได้ทันทีแต่ต้องทิ้งช่วงเวลา เช่น การแสดงด้วยการส่งจดหมาย E-mail
ข้อแตกต่าง การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้าจะมีผลเมื่อผู้รับการ
แสดงเจตนาได้ทราบการแสดงเจตนานั้น ส่วนการแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้
อยู่เฉพาะหน้าจะมีผลเมื่อการแสดงนั้นไปถึงผู้รับ
เงื่อนไข หมายถึง ข้อความที่บังคับให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมี
เหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต มี ๒ ประเภท ได้แก่
๑. เงื่อนไขบังคับก่อน หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่แน่นอน
ไว้และถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรมก็จะมีผล
๒. เงื่อนไขบังคับหลัง หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนไว้
และถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรมก็จะสิ้นผลไป
 เงื่อนเวลา หมายถึง ข้อความที่บังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อถึง
กาหนดระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่งในอนาคต มี ๒ ประเภท ได้แก่
๑. เงื่อนเวลาเริ่มต้น หมายถึง ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น และ
เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าวนิติกรรมก็จะมีผลบังคับให้ปฏิบัติตามนิติกรรม
นั้น
๒. เงื่อนเวลาสิ้นสุด หมายถึง ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น และ
เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว นิติกรรมก็จะสิ้นผลไป
อายุความ หมายถึง กาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้ให้เจ้าหนี้
สามารถใช้สิทธิเรียกร้องของตนด้วยการฟ้ องร้องต่อศาล หากเจ้าหนี้ไม่ได้ใช้สิทธิ
ของตนภายในเวลาที่กฎหมายกาหนดสิทธิเรียกร้องดังกล่าวก็จะขาดอายุความ
Ex. สิทธิเรียกร้องในหนี้กู้ยืมเงินมีกาหนดอายุความ ๑๐ ปี ถ้าเจ้าหนี้ไม่ใช้สิทธิ
ฟ้ องร้องภายใน ๑๐ ปี สิทธิเรียกร้องในหนี้กู้ยืมเงินจึงขาดอายุความ หากเจ้าหนี้นา
สิทธิเรียกร้องที่ขาดอายุความมาฟ้ องร้องต่อศาล ลูกหนี้สามารถยกอายุความขึ้น
เป็นข้อต่อสู้เพื่อไม่ชาระหนี้ได้และเมื่อลูกหนี้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้แล้วศาล
ต้องยกฟ้ องเสมอ
ข้อสังเกต อายุความโดยทั่วไปหากกฎหมายไม่กาหนดอายุความไว้เป็นการเฉพาะ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดให้มีอายุความ ๑๐ ปี ซึ่งเป็นอายุ
ความที่ยาวนานที่สุดสาหรับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แต่ถ้าหากกฎหมาย
ได้กาหนดอายุความเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้โดยเฉพาะก็ต้องเป็นไปตามที่กฎหมาย
กาหนด
กฎหมายลักษณะȨติกรรม
 นางสาวอังคนา สุยะตุ่น 521120604
 นายกรเกล้า พึ่งนุสน 521120609
 นาสาวเนตรนภา ทองบุญมา 521120611
 นายดุษฎี มูลเขียว 531120632
 นางสาวปริศนา บุญประเสริฐ521120649
โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา

More Related Content

กฎหมายลักษณะȨติกรรม

  • 2.  นิติกรรม หมายถึง การกระทาใดๆที่ทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย และด้วยสมัครใจ มุ่งโดยผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ  นิติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการกระทาของบุคคล หรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งเหตุการณ์นั้นไม่มีผู้ใดสมัครใจจะ ให้เกิดผลทางกฎหมาย แต่กฎหมายได้กาหนดให้เหตุการณ์ เหล่านั้นมีผลทางกฎหมายและก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ ขึ้น ซึ่งแตกต่างจากนิติกรรมอันเป็นการกระทาลงโดยสมัครใจ เพื่อมุ่งจะก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย
  • 3. 1. เป็ นการแสดงเจตนาของบุคคล นิติกรรมต้องเป็นการกระทาของ บุคคล แต่หากเป็นการกระทาของสัตว์หรือสิ่งของย่อมไม่เป็นไปตามนิติกรรม 2. เป็ นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย นิติกรรมต้องเป็นการกระทาที่ ชอบหรือถูกต้องตามกฎหมาย หากบุคคลเจตนาทานิติกรรมโดยไม่ชอบด้วย กฎหมาย แม้บุคคลนั้นจะประสงค์ให้เกิดผลผูกพันก็ตาม กฎหมายก็จะกาหนดให้ นิติกรรมนั้นเสียไป (โมฆะ) 3. เป็ นการกระทาที่มุ่งผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หากบุคคล กระทาการโดยไม่มุ่งผูกพันทางกฎหมายต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นการพูดจา ล้อเลียน การแสดงอัธยาศัยไมตรีทางสังคม หรือการเชื้อเชิญ การกระทาเหล่านี้ ย่อมไม่เป็นนิติกรรม 4. เป็ นการกระทาโดยสมัครใจ หมายถึง การแสดงเจตนาโดยอิสระ และตรงกับความรู้สึกนึกคิด ปราศจากความสาคัญผิดหรือถูกทากลฉ้อฉล หลอกลวงหรือขู่เข็ญบังคับ หากบุคคลแสดงเจตนาโดยไม่สมัครใจอาจทาให้นิติ กรรมนั้นมีผลเป็นโมฆะหรือโมฆียะแล้วแต่กรณี
  • 4.  แบ่งตามฝ่ายที่เข้าทานิติกรรม สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. นิติกรรมฝ่ายเดียว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ บุคคลเพียงฝ่ายเดียว เมื่อบุคคลฝ่ายเดียวได้แสดงเจตนาทานิติกรรมก็เกิดผลเป็นนิติ กรรมทันที Ex. การทาพินัยกรรม , การปลดหนี้ , การบอกเลิกสัญญา 2. นิติกรรมหลายฝ่าย หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของ บุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ทั้งนี้แต่ละฝ่ายอาจเป็นบุคคลเพียงคนเดียวหรือหลายคน ก็ได้ลาพังแต่การแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเพียงฝ่ายเดียวไม่อาจ เกิดผลเป็นนิติกรรมประเภทนี้ได้นิติกรรมประเภทนี้เรียกว่า “ สัญญา ” Ex. สัญญาซื้อขาย , สัญญากู้ยืมเงิน , สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
  • 5.  แบ่งตามเวลาที่นิติกรรมมีผล สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. นิติกรรมที่ผลในระหว่างที่ผู้ทานิติกรรมมีชีวิตอยู่ หมายถึง นิติกรรมที่ ผู้กระทามีเจตนาจะให้มีผลในระหว่างที่ตนมีชีวิตอยู่ ซึ่งอาจเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว หรือนิติกรรมหลายฝ่ายก็ได้ Ex. การปลดหนี้ , การบอกเลิกสัญญา , สัญญาให้โดยเสน่หา 2. นิติกรรมที่มีผลต่อเมื่อผู้ทานิติกรรมตายแล้ว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้น แล้วในขณะที่ผู้ทามีชีวิตอยู่ แต่ผู้ทานิติกรรมมีเจตนาจะให้นิติกรรมนั้นมีผลเมื่อตน ถึงแก่ความตาย Ex. การทาพินัยกรรม
  • 6.  แบ่งตามวิธีการที่ทาให้นิติกรรมสมบูรณ์ สามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเภท 1. นิติกรรมี่สมบูรณ์ด้วยการแสดงเจตนา หมายถึง นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ และใช้บังคับได้ทันทีเมื่อมีการแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม Ex. สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ 2. นิติกรรมที่สมบูรณ์เมื่อได้ทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด หมายถึง นิติ กรรมที่ลาพังเพียงแต่การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมยังไม่ทาให้นิติกรรมนั้น สมบูรณ์ นิติกรรมจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผู้ทานิติกรรมได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่ กฎหมายกาหนดไว้ Ex. สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ สัญญาจานอง
  • 7. นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์ หมายถึง นิติกรรมที่มีความผิดปกติบางอย่างใน การก่อนิติกรรม ซึ่งความผิดปกตินี้ทาให้กฎหมายไม่ยอมรับให้นิติกรรมไม่มีผล ในทางกฎหมายเลย อันได้แก่ โมฆะกรรม หรือยอมรับให้มีผลในทางกฎหมาย เพียงชั่วคราวจนกว่าจะมีการบอกล้าง อันได้แก่ โมฆียกรรม โมฆะกรรม หมายถึง การที่นิติกรรมเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผลใดๆ ในทาง กฎหมายมาตั้งแต่ทานิติกรรม ความเสียเปล่านั้นเกิดขึ้นทันทีที่มีการทานิติกรรมที่ กฎหมายกาหนดไห้มีผลเป็นโมฆะ โดยผู้ทานิติกรรมไม่ต้องดาเนินการใดๆ เมื่อนิติ กรรมเสียเปล่าจึงไม่สามารถให้สัตยาบันได้ เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็ นโมฆะ ๑. วัตถุประสงค์ ๔. การแสดงเจตนาลวง ๒. แบบ ๕. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญ ๓. การแสดงเจตนาซ้อนเร้น
  • 8. ผลของโมฆะกรรม นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆะจะเสียเปล่าโดยไม่ก่อให้เกิดผลใดๆทั้งสิ้น สิทธิและ หน้าที่ระหว่างคู่กรณีมีผลเสมือนไม่ได้ทานิติกรรมกันเลย นิติกรรมที่เป็นโมฆะจึงไม่ อาจให้สัตยาบันแก่กันได้อันแตกต่างจากนิติกรรมที่เป็นโมฆียะ และผู้มีส่วนได้เสีย คนใดคนหนึ่งชอบที่จะตกความเปล่าของนิติกรรมที่เป็นโมฆะขึ้นกล่าวอ้างเมื่อใดก็ ได้ โมฆียกรรม หมายถึง นิติกรรมที่กฎหมายได้ถือว่าสมบูรณ์อยู่จนกว่าจะ ถูกบอกล้าง เนื่องจากเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะนั้นยังบกพร่องไม่ร้ายแรง ถึงขนาดที่จะทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ การสมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้างจะ ช่วยให้ผู้ทานิติกรรมมีโอกาสตัดสินใจว่าจะผูกพันตนเองตามนิติกรรมหรือบอกล้าง เสียเพื่อให้นิติกรรมสิ้นผลไป ซึ่งจะทาให้สถานะทางกฎหมายเป็นฐานะเดิมก่อนที่ จะทานิติกรรม
  • 9. เหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็ นโมฆียะ ๑. ความสามารถ ๒. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในทางคุณสมบัติ ๓. การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล ๔. การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่ ผลของโมฆียกรรม นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมมีผลสมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้าง โดย ผู้ทานิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมสามารถเลือกได้ว่าจะให้สัตยาบันเพื่อให้นิติกรรม มีผลต่อไปหรือจะบอกล้างนิติกรรมนั้นเสียตั้งแต่เริ่มต้นอันจะทาให้สถานะทาง กฎหมายกลับคืนสู่ฐานะเดิม
  • 10.  การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้า หมายถึง การแสดงเจตนาที่ผู้แสดง เจตนาสามารถติดต่อสื่อสารทาความเข้าใจต่อผู้รับการแสดงเจตนาได้ทันทีโดยไม่ ต้องรอ เช่น การคุยกันต่อหน้า การคุยกันทางโทรศัพท์ การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า หมายถึง การแสดงเจตนาต่อ ผู้รับการแสดงเจตนาซึ่งมีลักษณะที่ผู้รับไม่สามารถทราบเจตนาของผู้แสดงเจตนา ได้ทันทีแต่ต้องทิ้งช่วงเวลา เช่น การแสดงด้วยการส่งจดหมาย E-mail ข้อแตกต่าง การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้าจะมีผลเมื่อผู้รับการ แสดงเจตนาได้ทราบการแสดงเจตนานั้น ส่วนการแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้ อยู่เฉพาะหน้าจะมีผลเมื่อการแสดงนั้นไปถึงผู้รับ
  • 11. เงื่อนไข หมายถึง ข้อความที่บังคับให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมี เหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต มี ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. เงื่อนไขบังคับก่อน หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่แน่นอน ไว้และถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรมก็จะมีผล ๒. เงื่อนไขบังคับหลัง หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนไว้ และถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรมก็จะสิ้นผลไป  เงื่อนเวลา หมายถึง ข้อความที่บังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อถึง กาหนดระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่งในอนาคต มี ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. เงื่อนเวลาเริ่มต้น หมายถึง ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น และ เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าวนิติกรรมก็จะมีผลบังคับให้ปฏิบัติตามนิติกรรม นั้น ๒. เงื่อนเวลาสิ้นสุด หมายถึง ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น และ เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว นิติกรรมก็จะสิ้นผลไป
  • 12. อายุความ หมายถึง กาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้ให้เจ้าหนี้ สามารถใช้สิทธิเรียกร้องของตนด้วยการฟ้ องร้องต่อศาล หากเจ้าหนี้ไม่ได้ใช้สิทธิ ของตนภายในเวลาที่กฎหมายกาหนดสิทธิเรียกร้องดังกล่าวก็จะขาดอายุความ Ex. สิทธิเรียกร้องในหนี้กู้ยืมเงินมีกาหนดอายุความ ๑๐ ปี ถ้าเจ้าหนี้ไม่ใช้สิทธิ ฟ้ องร้องภายใน ๑๐ ปี สิทธิเรียกร้องในหนี้กู้ยืมเงินจึงขาดอายุความ หากเจ้าหนี้นา สิทธิเรียกร้องที่ขาดอายุความมาฟ้ องร้องต่อศาล ลูกหนี้สามารถยกอายุความขึ้น เป็นข้อต่อสู้เพื่อไม่ชาระหนี้ได้และเมื่อลูกหนี้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้แล้วศาล ต้องยกฟ้ องเสมอ ข้อสังเกต อายุความโดยทั่วไปหากกฎหมายไม่กาหนดอายุความไว้เป็นการเฉพาะ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดให้มีอายุความ ๑๐ ปี ซึ่งเป็นอายุ ความที่ยาวนานที่สุดสาหรับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แต่ถ้าหากกฎหมาย ได้กาหนดอายุความเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้โดยเฉพาะก็ต้องเป็นไปตามที่กฎหมาย กาหนด
  • 14.  นางสาวอังคนา สุยะตุ่น 521120604  นายกรเกล้า พึ่งนุสน 521120609  นาสาวเนตรนภา ทองบุญมา 521120611  นายดุษฎี มูลเขียว 531120632  นางสาวปริศนา บุญประเสริฐ521120649 โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา