สรุปการเรียนรู้ Getting diversity เจิด8. 8 Act ตอบสนองอัตโนมัติ
1. เทศน์สอน ( หมี)
2. ด่วนให้กำลังใจ (อินทรีย์)
3. แทรกถำม (กระทิง อินทรีย์)
4. เกทับ (กระทิง)
5. ชวนวิเครำะห์ (หมี)
6. แย่งซีน (กระทิง อินทรีย์)
7. เข้ำข้ำงยุยง (กระทิง อินทรีย์)
8. ไกล่เกลี่ย (หนู)
8
9. เราสามารถแบ่งระดับการฟังได้เป็น 4 ระดับ
1.Downloading หรือ Ignoring หมำยถึง กำรฟังที่ผู้ฟังมีตัวตน หรือ อัตตำ
ของตัวเอง ค่อนข้ำงสูง โดยมักมีเสียงเกิดขนึ้ภำยในตนเอง ว่ำ “รู้แล้ว” โดยที่ข้อมูลที่ผู้
พูดต้องกำรส่งมำให้ยังอำจเพิ่งได้เริ่มต้น ยังไม่ทันส่งให้จบ หรือยังไม่มีแก่นของข้อมูลที่
ผู้พูดต้องกำรส่งออกมำ คนที่ฟังก็ได้ปิดประตูกำรรับฟังไปแล้ว และเสียโอกำสดีๆ ที่จะ
ได้รับรู้เรื่องรำวหรือ ประสบกำรณ์ดีๆ จำกผู้อื่น
ด้วยเสียงภำยใน ที่บอกตัวเองว่ำ “รู้แล้ว” เปรียบเหมือนเรำได้ตัดสินผู้พูดไปตัง้แต่ยัง
ไม่ได้รับรู้แก่นแท้ของข้อมูล ที่เขำต้องส่งมำให้ถึงเรำ เป็นกำรปิดประตู ไม่รับรู้ข้อมูล
อื่นๆ อีกต่อไป เสียงพูดเหล่ำนัน้ก็เป็นเพียงสำยลมที่พัดผ่ำนผู้ฟังโดยไม่มีกำรรับรู้ใดๆ
เกิดขนึ้
2.Debate หรือ Discussion หมำยถึง กำรฟังที่มีกำรตอบโต้ โต้เถียงกัน ใน
ประเด็นที่พูดถึง เป็นวำทกรรม โดยที่ทัง้สองฝั่งต้องกำรเป็นผู้พูดมำกกวำ่เป็นผู้ฟัง หำก
ประเดน็ที่พูดถึงก่อให้เกิดควำมคิดเห็นที่ต่ำงมุมมองมำกเท่ำไร ก็ยิ่งทำให้คู่สนทนำทัง้
สองฝั่งสร้ำงควำมเป็นตัวตนมำกเท่ำนัน้ และส่งต่อทำงอำรมณ์เกิดโทสะ พำยุทำง
อำรมณ์ได้ง่ำยขึน้เท่ำทวีคูณ
9
10. 3.Sensing หรือ Feeling หมำยถึง กำรฟังที่เข้ำใจผู้พูด ไม่ปิดประตู ไม่รีบโต้ตอบ
กลับไปยังคู่สนทนำ ฟังอย่ำงเข้ำใจ ด้วยควำมเมตตำ รับรู้อำรมณ์ ควำมรู้สึกที่ผู้พูด
ต้องกำรส่งมำให้ยังผู้ฟัง
หำกเรำเปรียบเทียบลักษณะกำรฟังระดับนี้ได้กับ กำรไปใส่รองเท้ำของเพื่อนผู้พูด
เข้ำใจในควำมรู้สึกที่ผู้พูดต้องกำรสื่อสำร โดยเฉพำะด้ำนกำยภำพ ควำมรู้สึกที่แสดง
ออกมำให้เรำเห็น รับรู้อำรมณ์จำกท่ำทำงของผู้พูดที่แสดงออก
4.Presence หรือ Needs หมำยถึง กำรฟังที่เข้ำถึงไปในใจของผู้พูด เปิดใจ รับฟัง
อย่ำงกรุณำ ค้นหำควำมต้องกำรจริงๆ จำกผู้พูด เข้ำถึงแก่นแท้ของข้อมูลที่ผู้พูด
ต้องกำรสื่อสำรให้
หำกเรำเปรียบเทียบลักษณะกำรฟังระดับนี้ได้กับ กำรเข้ำไปนงั่ในใจของเพื่อนผู้พูด
เข้ำถึงแก่นของควำมต้องกำรที่ผู้พูดได้สื่อสำรออกมำ มำกกวำ่ด้ำนกำยภำพ ลักษณะ
ภำยนอกที่แสดงออก
10
11. 11
การฟังอย่างลึกซึง้ (Deep Listening)
ในที่นี้หมายถึง
(1) การฟังอย่างมีสติ
(2) การฟังอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน (ไม่มีตัวกูของกูขณะ
ฟัง)
(3) การฟังอย่างปราศจากอคติ (ไม่ลาเอียงด้วยรัก/ชัง/
หลง/กลัว)
(4) การฟังด้วยจิตที่ปรารถนาจะฟังความจริงตามที่มัน
เป็นจริง
(5) การฟังด้วยเจตนาอันบริสุทธ์ิ (ไม่คิดจะจ้องจับผิด
หรือจ้องจดจาคาคม)
(6) การฟังโดยปราศจากการประเมินค่า/ตีความขณะฟัง
(7) การฟังด้วยท่าทีที่เคารพต่อผู้พูดอย่างจริงใจ
(8) การฟังตั้งแต่ต้นจนจบกระแสความ
13. การสื่อสารให้ได้ใจ
1. สังเกตุ ไม่ตีควำม
พูดเฉพำะสิ่งที่เกิดขนึ้จริง ทัวเหมือนกล้อง video ไม่เพิ่มอคติ
หรือกำรตัดสินใจ
2. รับรู้ควำมรู้สึก
ประสบกำรที่เกิดขนึ้ทัง้กำยและใจเป็นผลมำจำกกำรได้รับก ตอบสนอง หรือไม่ได้รับ
กำรตอบสนอง
3. สำรวจควำมต้องกำร
สิ่งที่มนุษย์ทุกคนตำ่งมีร่วมกัน อำจเป็นควำมต้องกำรพืน้ฐำนที่ทำให้มนุษย์ดำรงอยู่ได้
หรือคุณค่ำที่ลึกซึง้
4. ร้องขอ
กำรขอในสิ่งที่คำดว่ำจะทำให้ควำมต้องกำรได้รับกำรตอบสนอง โดยขอในสิ่งที่ปฏิบัติจริง
และพร้อมเข้ำใจอีกฝ่ำย
13
15. การร้องขอ 2 แบบ
1. กำรร้องขอเพื่อสร้ำงควำมสัมพันธ์ เช่น คุณคิดยังไงเกี่ยวกับผม
พูดไปที่พูด รู้สึกยังไงกับเรื่องนี้
2. ร้องขอให้เกิดกำรกระทำ ใช้หลัก PLATO
P = Person คน
L = Location สถำนที่
A = Action กำรกระทำ
T = Time เวลำ
O = Object สิ่งของ
15
16. กิจกรรมสายธารชีวิต
วัยเด็ก
ควำมรัก
ครอบครัว
จุดเปลี่ยนชีวิต
ควำม
ยำกลำบำก
อุปสรรค ป ญหำ
ควำมสำเร็จใน
ชีวิต ควำม
ภำคภูมิใจ
ปลำยทำง
เป้ำหมำยชีวิต
ช่วงเวลำเสียใจ
ควำม
พลัดพลำก
16