ݺߣ
Submit Search
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
•
0 likes
•
3,980 views
Cholthicha JaNg
1 of 12
More Related Content
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
1.
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและ สื่อการศึกษา บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น 565050039-9
นางสาวชลธิชา มายอด 565050042-0 นางสาวนิโลบล มีชัย 565050051-9 นางสาวอุทัยวรรณ นิสสัยกล้า 565050046-2 นางสาวพิมลวรรณ ร่มวาปี
2.
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา The Changing Face
of Education แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอน - แนวคิดดั้งเดิม จะเป็นการเรียนในห้อง ในชั้นเรียน มีครู หรือผู้ถ่ายทอดเป็นศูนย์กลางเพียงด้านเดียว เน้นการ จดจา อาจมีการโต้ตอบระหว่างกันบ้าง แต่น้อย
3.
แนวคิดเกี่ยวเกี่ยวกับการเรียนการสอน - แนวคิดใหม่ การปฏิรูปยุคใหม่ ปรับเปลี่ยนให้มีการพัฒนา ความเป็นมนุษย์
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คิดเป็น แก้ปัญหา เป็น ศึกษาด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อตอบรับต่อ สภาพความเป็นจริง และกระแสการเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลกทั้งในปัจจุบันและอนาคต การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา The Changing Face of Education
4.
ปัจจุบันความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนมีเพิ่มมากขึ้น ในสภาพชีวิตจริงก็ต้องการ บุคคลที่มี ความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะ
ให้เหตุผล ที่สามารถแก้ปัญหาได้ในระดับที่ สูงขึ้น ความหลากหลายในสังคมทาให้ รูปแบบการเรียน พื้นฐาน ประสบการณ์มีความ แตกต่างกัน จึงทาให้เกิดการปัญหาเรียนรู้ที่ซับซ้อนสาหรับครูและผู้เรียน ความหลากหลาย ในสังคม รูปแบบการเรียน พื้นฐาน ทักษะ บุคคล ประสบการณ์ ครอบครัว การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน The Changing Learner
5.
ลักษณะผู้เรียนในอดีต ลักษณะผู้เรียนในปัจจุบัน ผู้เรียนเรียนรู้จากการถ่ายทอด ของครูผู้สอน จดจาเนื้อหาอย่างเดียว เมื่อเวลาผ่านไป
ผู้เรียนก็ลืมสิ่งที่เรียน มา ไม่รู้จักวิธีแก้ปัญหา วิธีคิด ที่จะนา ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ผู้เรียนที่มีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง และ ค้นหาความรู้ด้วยตนเองเป็นผู้ที่มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ คิดค้น วิธีคิด วิเคราะห์ ตั้งคาถาม อธิบาย ตลอดจนทาความเข้าใจ สิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย ที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน The Changing Learner
6.
การเปลี่ยนแปลงสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเปลี่ยนแปลงสู่การเรียนที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการออกแบบการสอน การนาไปใช้ สื่อการสอน บทบาทครูในอดีต จะทาหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ ผู้เรียนเป็นผู้รับ
เน้นครูผู้สอน เป็นศูนย์กลางปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดขั้นสูง
7.
การเปลี่ยนแปลงสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การออกแบบการสอน ในอดีตครูผู้สอน จะสอนนักเรียนโดยไม่ได้มีการวางแผน ออกแบบการสอน จะสอนโดยยืนสอนหน้าห้องเรียน
ผู้เรียนนั่งเรียน ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน แต่ในปัจจุบันครูผู้สอน ต้องมีการวางแผน ออกแบบการสอน โดยนาทฤษฏีการเรียนรู้มาออกแบบ การสอนเน้นผู้เรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ แสวงหาความรู้เกิดทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ และ นาไปใช้ในชีวิตได้
8.
การเปลี่ยนแปลงสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สื่อการสอน คือตัวกลางที่ถ่ายทอดสารสนเทศไปสู่ผู้เรียน เป็นตัวกลางใน การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
ครู และการสอน ** สื่อการสอนอาจจะยังไม่สอดคล้อง เป็นเพียงตัวกลางถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ เท่านั้นจึงได้ปรับเปลี่ยนมาเป็น สื่อการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ คือทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ รวมถึงเหตุการณ์ มุ่งให้ผู้เรียนได้ ศึกษา แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สื่อการสอน
9.
การเปลี่ยนแปลงสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เปลี่ยนจากเน้นครูผู้สอนเป็นศูนย์กลางมาเป็นการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางจัดการเรียนการสอน นาสื่อการเรียนรู้มาใช้ โดยให้ผู้เรียนปฏิบัติ
ลงมือ กระทาด้วยตนเองผู้เรียนก็จะมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งเรียนต่างๆ ทาให้ผู้เรียนได้เกิดการ คิด การแก้ปัญหา ทาให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การนาไปใช้
10.
เทคโนโลยีการศึกษากับการเรียนรู้ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เป็นทฤษฎีที่ได้รับความนิยมในช่วงแรก ใช้สิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด พฤติกรรมสนองที่สามารถวัดและสังเกตุได้ แบ่งได้สองแบบคือ
แบบเรสปอน เดนซ์ (เมื่อมีสิ่งเร้าจะเกิดการตอบสนอง) แบบโอเปอร์แรนต์ (แสดงออกโดย ปราศจากสิ่งเร้า) ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพโดย ผู้เรียนมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นและยังสามารถรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้มา (ความจา,แรงจูงใจ)
11.
เทคโนโลยีการศึกษากับการเรียนรู้ คอนสตรัคติวิส การรู้จักตีความหมายของสิ่งต่างๆของแต่ละบุคคลนั้นเกิดจากการสร้างแนวคิด ของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นวัตถุจริง (สร้าง,สังเกต,ลงมือทา)