ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ความ๶ป็Ȩาྺองการศึกษาพิ๶ศษ
Special Needs Education
• อิทารด์ (Itard) (พ.ศ. ๒๓๑๘ - ๒๓๘๑)
แพทย์ชาวฝรั่งเศส มีความเชี่ยวชาญทางโรคหู และการให้การศึกษาแก่นักเรียนหูหนวก เขาเป็นคนแรก ที่พยายามสอนเด็กชายวิคเตอร์ (Victor) อายุ ๑๒ ปี ที่อาศัยอยู่ในป่าในประเทศฝรั่งเศส ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เขาไม่สามารถช่วยให้วิคเตอร์หายพิการ
ได้ เพียงแต่ช่วยให้วิคเตอร์มีพฤติกรรมที่เป็นมนุษย์มากขึ้น โดยใช้กระบวนการสอนเขาเป็นผู้ค้นคิดวิธีการปรับพฤติกรรม เป็นผู้สร้างระบบการศึกษาแบบการสอนพูดให้กับเด็กหูหนวก และทาให้มีผู้เชี่ยวชาญการฝึกพูด และฝึกฟังในเวลาต่อมา เขาเป็นบิดาแห่ง
การศึกษาพิเศษ สาหรับเด็กปัญญาอ่อน และร่างกายพิการด้วย
ชีกวิน (Sequin) (พ.ศ. ๒๓๕๕-๒๔๒๓)
เป็นลูกศิษย์ของอิทารด์ ได้อพยพเข้าไปอยู่ในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๙๑ เป็นนักการศึกษาที่มีชื่อเสียงทั่วโลก ในการให้การศึกษาแก่เด็กปัญญาอ่อน แม้ว่าในขณะนั้นเกือบทุกคนแน่ใจว่า ไม่สามารถที่จะสอนอะไรที่สาคัญๆ ให้แก่เด็กปัญญาอ่อนได้ ชีกวิน
ได้รับปริญญาทางการแพทย์ในปี พ.ศ. ๒๔๐๔ งานเขียนของเขาเป็นงานที่เกี่ยวกับการใช้วิธีการของอิทารด์ ซึ่งเป็นพื้นฐานให้กับงานของมอนเทสซอรี (Montessori) ในเวลาต่อมา
มอนเทสซอรี (Montessori) (พ.ศ. ๒๔๑๓- ๒๔๙๕)
เป็นผู้หญิงคนแรกในประเทศอิตาลีที่ได้รับปริญญาทางการแพทย์เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะนักการศึกษาสาหรับเด็กปัญญาอ่อน และยังเป็นผู้สนับสนุนส่งเสริมการให้การศึกษา สาหรับเด็กวัยก่อนประถมศึกษา และเด็กที่มีพัฒนาการในช่วงต้นๆ ของชีวิต เป็นผู้สานต่อ
งานของอิทารด์
ในประเทศสหรัฐฯผู้ที่มีความสนใจในการให้การศึกษาแก่เด็กพิการคือ
ฮาว (Howe) (พ.ศ. ๒๓๔๔-๒๔๑๙)
ซึ่งเป็นทั้งแพทย์และนักการศึกษาเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดเปอร์กินส์ (Perkins) ในเมืองวอเตอร์ทาวน์ (Watertown) รัฐแมสซาชูเซต และเป็นครูสอนเด็กพิการซ้อนคือ หูหนวก และตาบอด ซึ่งประสบความสาเร็จเป็นอย่างมากในการ
สอนลอร่า บริดจ์แมน (Laura Bridgman) ผู้ซึ่งทั้งหูหนวก และตาบอด ความสาเร็จนี้ ก็มีอิทธิพลต่อการศึกษาของเฮเลน เคลเลอร์ (Helen Keller) เป็นอย่างมาก และนอกจากนี้ฮาวยังเป็นกาลังสาคัญในการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อทดลองสอน
เด็กปัญญาอ่อน ในแมสซาชูเซต ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ และรู้จักกับชีกวินเป็นอย่างดี
กาลอเด็ต (Gallaudet) (พ.ศ. ๒๓๓๐- ๒๓๙๔)
เป็นบาทหลวง ได้พบเด็กหูหนวกคนหนึ่ง และพยายามสอนเด็กคนนี้ ขณะที่กาลอเด็ตเอง ยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่สถาบันสอนศาสนาใน ปี พ.ศ. ๒๓๖๐ เขาได้จัดตั้งโรงเรียนประจาแห่งแรก สาหรับเด็กหูหนวก ในเมืองฮาร์ตฟอร์ด (Hart- ford) มลรัฐ
คอนเนกติกัต ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. มีมหาวิทยาลัยกาลอเด็ต เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียว ที่รับนักศึกษาหูหนวกเข้าเรียนจนถึงระดับปริญญาเอกซึ่งตั้งชื่อ โดยใช้ชื่อของกาลอเด็ต เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
นอกจากนี้ ยังมีบุคคลอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาพิเศษ ทั้งในสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ในโลก คือ ปิเอเจย์ (Piaget) นักจิตวิทยาพัฒนาการ และฟรอสติก (Frostig) นักสังคมสงเคราะห์ทางจิตเวช และนักฟื้ นฟูบาบัดที่เคยทางานในประเทศ
ออสเตรีย และโปแลนด์ ได้อพยพเข้าไปอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ต่อมาได้รับการศึกษาด้านจิตวิทยา และได้ทางานกับเด็กปัญญาอ่อน ยุวอาชญากร และเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ทาให้มีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาการศึกษาพิเศษ
โดยเฉพาะในสาขาที่เกี่ยวกับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
สเทราสส์ (Strauss) เป็นนักประสาทวิทยา และ เวอร์เนอร์ (Werner) นักจิตวิทยาพัฒนาการ
ได้เริ่มโปรแกรมฝึกอบรม และดาเนินงานวิจัย ในมลรัฐมิชิแกน ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาพิเศษ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๓ จนถึงปัจจุบัน
ฮอบส์ (Hobbs) นักจิตวิทยา และนักการศึกษา ที่มีชื่อเสียง รู้สึกประทับใจต่อการปฏิบัติอาชีพในบทบาทต่างๆ ของนักการศึกษาในยุโรป ในการดูแล และให้การศึกษาแก่เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม ก็ได้ริเริ่มโปรแกรมช่วยเด็กเหล่านี้ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ นับเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาพิเศษ สาหรับเด็กที่มีปัญหาทางอารมณ์
Montessori
Howe
2300 2350 2400 2450 2500 2550
sequin
Gallaudet
Itard
Strauss&Werner
Hobbs
คนพิการที่อยากเรียน
ต้องได้เรียน
สปช.จัดเรียนร่วม
เรียนร่วมพิบูลประชาสรรค์
Geneviev Caulifield
2450 2500 2550
พรบ.กศ.ภาค
บังคับยกเว้น
ตั้งมูลนิธิเศรษฐเสถียร
ทดลองสอน
ห้องเรียน
พิเศษ
เรียนร่วม
เซนต์คาเบรียล
นาเด็กเรียนช้าทดลอง
เรียนร่วม
เริ่มโครงการสอนเด็ก
เจ็บป่วยเรื้อรัง
ตั้งโรงเรียนสอนคนหูหนวก
เรียนร่วมคนตาบอด
ตั้งโรงเรียนศรีสังวาลย์
ร.ร.ลอออุทิศ รภ.สวนดุสิต
โครงการ ร.ร.แกนนา
จัดการเรียนร่วม
โครงการ ร.ร.ต้นแบบ
จัดการเรียนรวม

More Related Content

ความ๶ป็Ȩาྺองการศึกษาพิ๶ศษ

  • 2. • อิทารด์ (Itard) (พ.ศ. ๒๓๑๘ - ๒๓๘๑) แพทย์ชาวฝรั่งเศส มีความเชี่ยวชาญทางโรคหู และการให้การศึกษาแก่นักเรียนหูหนวก เขาเป็นคนแรก ที่พยายามสอนเด็กชายวิคเตอร์ (Victor) อายุ ๑๒ ปี ที่อาศัยอยู่ในป่าในประเทศฝรั่งเศส ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เขาไม่สามารถช่วยให้วิคเตอร์หายพิการ ได้ เพียงแต่ช่วยให้วิคเตอร์มีพฤติกรรมที่เป็นมนุษย์มากขึ้น โดยใช้กระบวนการสอนเขาเป็นผู้ค้นคิดวิธีการปรับพฤติกรรม เป็นผู้สร้างระบบการศึกษาแบบการสอนพูดให้กับเด็กหูหนวก และทาให้มีผู้เชี่ยวชาญการฝึกพูด และฝึกฟังในเวลาต่อมา เขาเป็นบิดาแห่ง การศึกษาพิเศษ สาหรับเด็กปัญญาอ่อน และร่างกายพิการด้วย ชีกวิน (Sequin) (พ.ศ. ๒๓๕๕-๒๔๒๓) เป็นลูกศิษย์ของอิทารด์ ได้อพยพเข้าไปอยู่ในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๙๑ เป็นนักการศึกษาที่มีชื่อเสียงทั่วโลก ในการให้การศึกษาแก่เด็กปัญญาอ่อน แม้ว่าในขณะนั้นเกือบทุกคนแน่ใจว่า ไม่สามารถที่จะสอนอะไรที่สาคัญๆ ให้แก่เด็กปัญญาอ่อนได้ ชีกวิน ได้รับปริญญาทางการแพทย์ในปี พ.ศ. ๒๔๐๔ งานเขียนของเขาเป็นงานที่เกี่ยวกับการใช้วิธีการของอิทารด์ ซึ่งเป็นพื้นฐานให้กับงานของมอนเทสซอรี (Montessori) ในเวลาต่อมา มอนเทสซอรี (Montessori) (พ.ศ. ๒๔๑๓- ๒๔๙๕) เป็นผู้หญิงคนแรกในประเทศอิตาลีที่ได้รับปริญญาทางการแพทย์เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะนักการศึกษาสาหรับเด็กปัญญาอ่อน และยังเป็นผู้สนับสนุนส่งเสริมการให้การศึกษา สาหรับเด็กวัยก่อนประถมศึกษา และเด็กที่มีพัฒนาการในช่วงต้นๆ ของชีวิต เป็นผู้สานต่อ งานของอิทารด์ ในประเทศสหรัฐฯผู้ที่มีความสนใจในการให้การศึกษาแก่เด็กพิการคือ ฮาว (Howe) (พ.ศ. ๒๓๔๔-๒๔๑๙) ซึ่งเป็นทั้งแพทย์และนักการศึกษาเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดเปอร์กินส์ (Perkins) ในเมืองวอเตอร์ทาวน์ (Watertown) รัฐแมสซาชูเซต และเป็นครูสอนเด็กพิการซ้อนคือ หูหนวก และตาบอด ซึ่งประสบความสาเร็จเป็นอย่างมากในการ สอนลอร่า บริดจ์แมน (Laura Bridgman) ผู้ซึ่งทั้งหูหนวก และตาบอด ความสาเร็จนี้ ก็มีอิทธิพลต่อการศึกษาของเฮเลน เคลเลอร์ (Helen Keller) เป็นอย่างมาก และนอกจากนี้ฮาวยังเป็นกาลังสาคัญในการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อทดลองสอน เด็กปัญญาอ่อน ในแมสซาชูเซต ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ และรู้จักกับชีกวินเป็นอย่างดี กาลอเด็ต (Gallaudet) (พ.ศ. ๒๓๓๐- ๒๓๙๔) เป็นบาทหลวง ได้พบเด็กหูหนวกคนหนึ่ง และพยายามสอนเด็กคนนี้ ขณะที่กาลอเด็ตเอง ยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่สถาบันสอนศาสนาใน ปี พ.ศ. ๒๓๖๐ เขาได้จัดตั้งโรงเรียนประจาแห่งแรก สาหรับเด็กหูหนวก ในเมืองฮาร์ตฟอร์ด (Hart- ford) มลรัฐ คอนเนกติกัต ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. มีมหาวิทยาลัยกาลอเด็ต เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียว ที่รับนักศึกษาหูหนวกเข้าเรียนจนถึงระดับปริญญาเอกซึ่งตั้งชื่อ โดยใช้ชื่อของกาลอเด็ต เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้ ยังมีบุคคลอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาพิเศษ ทั้งในสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ในโลก คือ ปิเอเจย์ (Piaget) นักจิตวิทยาพัฒนาการ และฟรอสติก (Frostig) นักสังคมสงเคราะห์ทางจิตเวช และนักฟื้ นฟูบาบัดที่เคยทางานในประเทศ ออสเตรีย และโปแลนด์ ได้อพยพเข้าไปอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ต่อมาได้รับการศึกษาด้านจิตวิทยา และได้ทางานกับเด็กปัญญาอ่อน ยุวอาชญากร และเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ทาให้มีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาการศึกษาพิเศษ โดยเฉพาะในสาขาที่เกี่ยวกับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ สเทราสส์ (Strauss) เป็นนักประสาทวิทยา และ เวอร์เนอร์ (Werner) นักจิตวิทยาพัฒนาการ ได้เริ่มโปรแกรมฝึกอบรม และดาเนินงานวิจัย ในมลรัฐมิชิแกน ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาพิเศษ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๓ จนถึงปัจจุบัน ฮอบส์ (Hobbs) นักจิตวิทยา และนักการศึกษา ที่มีชื่อเสียง รู้สึกประทับใจต่อการปฏิบัติอาชีพในบทบาทต่างๆ ของนักการศึกษาในยุโรป ในการดูแล และให้การศึกษาแก่เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม ก็ได้ริเริ่มโปรแกรมช่วยเด็กเหล่านี้ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ นับเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาพิเศษ สาหรับเด็กที่มีปัญหาทางอารมณ์
  • 3. Montessori Howe 2300 2350 2400 2450 2500 2550 sequin Gallaudet Itard Strauss&Werner Hobbs
  • 4. คนพิการที่อยากเรียน ต้องได้เรียน สปช.จัดเรียนร่วม เรียนร่วมพิบูลประชาสรรค์ Geneviev Caulifield 2450 2500 2550 พรบ.กศ.ภาค บังคับยกเว้น ตั้งมูลนิธิเศรษฐเสถียร ทดลองสอน ห้องเรียน พิเศษ เรียนร่วม เซนต์คาเบรียล นาเด็กเรียนช้าทดลอง เรียนร่วม เริ่มโครงการสอนเด็ก เจ็บป่วยเรื้อรัง ตั้งโรงเรียนสอนคนหูหนวก เรียนร่วมคนตาบอด ตั้งโรงเรียนศรีสังวาลย์ ร.ร.ลอออุทิศ รภ.สวนดุสิต โครงการ ร.ร.แกนนา จัดการเรียนร่วม โครงการ ร.ร.ต้นแบบ จัดการเรียนรวม