ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาน ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• โครงงานนี้ได้แรงบันดาลใจมาจากการที่เกิดปัญหาในบางครั้งในการ
ปลูกพืชในการใช้ดินที่แตกต่างกันทาให้ส่งผลถึงการเจริญเติบโตของพืช
และในชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่4นั้นได้มีการทาโครงงานขึ้นทางกลุ่มจึงคิดที่
จะเอาปัญหานี่มาแก้ไขและทดลองเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ทางกลุ่มจึงคิดที่จะทาการทดลองเพื่อหาดินที่จะทาให้การปลูกพืชได้
ดีที่สุดโดยโดยการจับคู่ดินโดยมราดินที่นามาใช้ในการทดลองดั้งนี้ดิน
ทราย ดินร่วน ดินเหนียว และมี่ดินที่นามาจับคู่กันคือดินทรายกับดิน
เหนียว ดินเหนียวกับดินร่วน และ ดินร่วนกับดินทราย
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• วัตถุประสงค์
1.ศึกษาคุณสมบัติของดินที่ปลูกพืชได้ดี
2.ทดลองหาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• ข้อมูลการศึกษา
ดิน หมายถึง วัตถุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการสลายตัวทางกายภาพ
และทางเคมีของหินและแร่ รวมกับสารอินทรีย์ที่เกิดจากการสลายตัว
ของซากพืชซากสัตว์เป็นผิวชั้นบนที่หุ้มห่อโลก ซึ่งดินจะมีลักษณะและ
คุณสมบัติต่างกันไปในที่ต่างๆ ตามสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วัตถุต้น
กาเนิด สิ่งมีชีวิตและระยะเวลาการสร้างตัวของดิน
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
ดิน (Soil) โดยมีส่วนประกอบดังนี้
อนินทรียวัตถุ (Mineral matter) แร่ต่างๆ ภายในหินซึ่งผุพังสึกกร่อน
เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี
อินทรียวัตถุ (Organic matter) เน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืช
ซากสัตว์ที่ทับถมกัน มีอยู่ประมาณ
น้า ในสารละลายซึ่งพบอยู่ในช่องระหว่างเม็ดดิน (Aggregate) หรืออนุภาค
ดิน (Particle)
อากาศ อยู่ในที่ว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• การผุพังของแร่เฟลด์สปาร์ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหินต้นกาเนิดดิน (Parent
rock) เมื่อฝนตกลงมา น้าฝนจะละลายคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ทาให้มี
สภาพเป็นกรดอ่อนๆ (กรดคาร์บอนิก) น้าฝนบนพื้นผิวซึมลงสู่เบื้องล่างและทา
ปฏิกิริยากับแร่เฟลด์สปาร์ที่อยู่ในหิน ทาให้เกิดการผุพังทางเคมี (Chemical
weathering) แตกสลายเป็นเม็ดทราย (ซิลิกา), แร่ดินเหนียว (Clay
mineral), ประจุโซเดียม แคลเซียม และโปแตสเซียม ในรูปของสารละลาย
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อดิน
สิ่งมีชีวิตเองก็ทาให้หินผุพังกลายเป็นดิน จะเห็นได้ว่า ดิน สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม มี
อิทธิพลซึ่งกันและกันเป็นอย่างมาก ดังที่แสดงในภาพ
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• ดินทรายร่วนประกอบด้วยอนุภาคทราย 80%, อนุภาคทรายแป้ง 10%,
อนุภาคดินเหนียว 10%
ดินร่วนประกอบด้วยอนุภาคทราย 40%, อนุภาคทรายแป้ง 40%, อนุภาค
ดินเหนียว 20%
ดินเหนียวประกอบด้วยอนุภาคทราย 20%, อนุภาคทรายแป้ง 20%, อนุภาค
ดินเหนียว 60%
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• โครงสร้างดิน (Soil Structure)
โครงสร้างดิน หมายถึง รูปแบบของการยึดและการเรียงตัวของอนุภาค
เดี่ยวของดินเป็นเม็ดดินในหน้าตัดดิน เม็ดดินแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้งด้าน
ขนาดและรูปร่าง ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ชนิดคือ
แบบก้อนกลม (Granular ) มีรูปร่างคล้ายทรงกลม เม็ดดินมีขนาด
เล็กประมาณ 1 - 10 มิลลิเมตร มักพบในดินชั้น A มีรากพืชปนอยู่มาก เนื้อดินมี
ความพรุนมาก จึงระบายน้าและอากาศได้ดี
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
แบบแผ่น (Platy) ก้อนดินแบนวางตัวในแนวราบ และซ้อนเหลื่อม
กันเป็นชั้น ขัดขวากรากพืช น้าและอากาศซึมผ่านได้ยาก มักเป็นดินชั้น A ที่ถูกบีบ
อัดจากการบดไถของเครื่องจักรกลการเกษตร
แบบแท่งหัวมน (Columnar) มีการจับตัวคล้ายคลึงกับแบบแท่งหัว
เหลี่ยม แต่ส่วนบนของปลายแท่งมีลักษณะกลมมน ปกคลุมด้วยเกลือ เม็ดดินมี
ขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B และเกิดในเขตแห้งแล้ง น้าและ
อากาศซึมผ่านได้น้อย และมีการสะสมของโซเดียมสูง
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) ก้อนดินแต่ละก้อนมีผิวหน้าแบบและเรียบ เกาะ
ตัวกันเป็นแท่งหัวเหลี่ยมคล้ายปริซึม ก้อนดินมีลักษณะยาวในแนวดิ่ง ส่วนบนของ
ปลายแท่งมักมีรูปร่างแบน เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B
น้าและอากาศซึมได้ปานกลาง
แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky) มีรูปร่างคล้ายกล่อง เม็ดดินมีขนาดประมาณ 1-5
เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B มีการกระจายของรากพืชปานกลาง น้าและอากาศ
ซึมผ่านได้
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
แบบก้อนทึบ (Massive) เป็นดินเนื้อละเอียดยึดตัวติดกันเป็นก้อน
ใหญ่ ขนาดประมาณ 30 เซนติเมตร ดินไม่แตกตัวเป็นเม็ด จึงทาให้น้าและอากาศ
ซึมผ่านได้ยาก
แบบอนุภาคเดี่ยว (Single Grained) ไม่มีการยึดตัวติดกันเป็น
ก้อน มักพบในดินทราย ซึ่งน้าและอากาศซึมผ่านได้ดี
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• น้ามีบทบาทสาคัญในเศรษฐกิจโลก เนื่องจากน้าเป็นตัวทาละลายของสารเคมี
หลากหลายชนิดและอานวยความสะดวกในเรื่องการให้ความเย็นใน
ภาคอุตสาหกรรมและการคมนาคม น้าจืดประมาณ 70% มนุษย์ใช้ไปกับ
เกษตรกรรม
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• พริกขี้หนู (ชื่อวิทยาศาสตร์: Capsicum annuum) อยู่ใน
วงศ์ Solanaceae มีลักษณะเป็นไม้ต้น ความสูง 30-120 cm ใบมี
ลักษณะแบนและเรียบมัน ผลมีขนาดเล็กเรียวยาวประมาณ 2-3 ซ.ม. เมื่อดิบผลมี
สีเขียวเข้ม เมื่อสุกจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีแดง มีรสเผ็ดจัด นิยมใช้เป็นส่วนประกอบ
ในอาหารไทยหลากหลายชนิด ชื่อในภาษาอังกฤษมีหลายชื่อ ได้แก่Chilli
Padi, Bird's Eye Chilli, Bird Chilli, Thai pepper
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
• การปลูกพริกจะปลูกด้วยเมล็ดแก่ที่เก็บเอาไว้โดยการเตรียมดินให้มีธาตุอาหารที่
เพียงพอหลังจากนั้นก็รองด้วยปุ๋ ยหมักในก้นหลุมที่ปลูกถ้าเป็นกระถางก็รองที่ก้น
กระถางก่อนที่เราจะเอาดินที่มีธาตุอาหารมาใส่ในกระถางหลังจากนั้นก็เอาน้ารดลง
ไปในดินให้ชุ่มก่อนที่จะเอานิ้วขีดลงไปในดินเป็นเส้นตรงซักหนึ่งเส้น ใส่เมล็ดลง
ไปซัก 5 เมล็ดก็พอ หลังจากนั้นเอาฟางคลุมและรดน้าอีกทีหนึ่ง
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
วิธีการทดลอง
-อุปกรณ์
1ดินเหนียว 4.ต้นพริกขี้หนู
2.ดินทราย 5.ปุ๋ ยตราเรือใบ
3.ดินร่วน 6.จอบ
7.เสียม 8.มูลวัว
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
-วิธีการดาเนินงาน
1.นาดินมาใส่กระถางโดยมี6แบบดังนี้ดินทราย ดินเหนียว ดินร่วน ดิน
ทราย+ดินร่วน ดินร่วน+ดินเหนียว และเดินทราย+ดินทรายแล้วใส่มูลวัว
ผสมให้เข้ากัน
2ใส่ต้นกล้าของพริกขี้หนูลงไปปลูกไว้เวลา1เดือนโดยรดน้าทุกวันปริมาณ
300มิลลิลิตรและให้ปุ๋ ยทุกสัปดาห์สัปดาห์ละ0.3กรัม
3.คอยดูผลการทดลองและเก็บข้อมูลทุกสัปดาห์
ศึกษาดินที่ทาการปลุกพืชได้ดีที่สุด
ผลการทดลอง
จากการทดองปากว่าดินที่ใช้ดีที่สุดคือดินร่วน+ดินทรายเพราะจาก
การศึกษาคุณสมบัติของดินแล้วได้เหตุผลมาดังนี้ดินร่วนเป็นดินที่กักเก็บ
และปุ๋ ยได้ดีส่วนดินทรายมีคุณสมบัติในการไหลผ่านของน้าและปุ๋ ยได้ดี
ดังนั้นการปลูกด้วยดิน+ทรายจะดีกว่าดินชนิดอื่นๆและดนที่ปลูกได้แย่
สุดคือดินเหนียวเพราะมีการกักเก็บน้ามากไป
ข้อเสนอแนะ
ดินเหนียวสามารถปลูกได้ในพืชบางเฉพาะเช่นข้าว
จัดทาโดย
นางสาวคณิตา พริกนุ่น
นางสาวจันทิมา พุฒทอง
วุฒิการศึกษา กาลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี

More Related Content

โครงงาȨึกษาึϸȨี่ปลูกพืชไึϹึϸที่สุด