ݺߣ
Submit Search
1 ทฤษฎีการรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
•
1 like
•
1,115 views
คน ขี้เล่า
Follow
ทฤษฎีการรียนรู้
Read less
Read more
1 of 22
Download now
More Related Content
1 ทฤษฎีการรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
1.
Þ® ɾ³ ß
™−ÁæΨ Ë® Û® β ½® Ófl นักศึกษา ค.5303
2.
OUTLINE ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 Natural
UnfoldmentMental Discipline Apperception, Herbartianism CognitivismBehaviorism Humanism Electicism
3.
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมอง (Mental Discipline) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural
Unfoldment) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception หรือ Herbartianism) ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
4.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมอง (Mental Discipline) จิตหรือสมอง หรือ
สติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องโดย การฝึก เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรง ได้ด้วยการฝึกออกกําลังกาย กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline ) ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
5.
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline
) St. Augustine John Calvin Christian Wolff ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมองทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
6.
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline
) 1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทําใด ๆ ของมนุษย์ เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active) 2. มนุษย์พร้อมที่จะทําความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม 3. สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหาก ได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทําให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ได้ 4. การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจําเป็นต่อการ พัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด 5. การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมองทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
7.
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline
) หลักการจัดการเรียนการสอน การฝึกระเบียบของจิตอย่างเข้มงวด เพื่อให้จิตเข้มแข็ง จึงต้องมีการบังคับ ลงโทษ เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก ศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและยึดถือในพระเจ้า ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมองทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
8.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) Plato
Aristotle ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมองทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์
9.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมอง 1.
พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ เป็นความสามารถของมนุษย์มิใช่พระเจ้า บันดาลให้เกิด 2. มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว และการกระทําของมนุษย์เกิดจาก แรงกระตุ้นภายใน (neutral - active) 3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือก ทําตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะ สามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา 4. มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่ แสดงออกมา ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์
10.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตและสมอง การกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา ไม่จําเป็นต้องใช้การบังคับ
เคี่ยวเข็ญ แต่ควรใช้เหตุผล การใช้วิธีสอนแบบโสเครตีส (Socratic Method) การใช้วิธีสอนแบบบรรยาย ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์
11.
OUTLINE ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 Natural
UnfoldmentMental Discipline Apperception, Herbartianism CognitivismBehaviorism Humanism Electicism
12.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment) Rousseau Froebel
Pestalozzi ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
13.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment) 1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีและการกระทําใด ๆ
เกิดขึ้นจากแรงกระตุ้น ภายในตัวมนุษย์เอง (good - active) 2.ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเอง หาก ได้รับเสรีภาพในการเรียนรู้ 3.ซึ่งแตกต่างไปจากวัยอื่น การจัดการศึกษาให้เด้กจึงควรพิจารณาระดับอายุ เป็นหลัก 4. เด็กควรจะได้เรียนรู้ ไปตามธรรมชาติ คือการเรียนรู้จากปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ Froebel ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
14.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment) 5. คนมีธรรมชาติปนกันใน
3 ลักษณะ คือ คนสัตว์คนสังคม และคนธรรม 6. การใช้ของจริงเป็นสื่อในการสอน จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดี 7. ควรจะให้การศึกษาชั้นอนุบาลแก่เด็กเล็ก อายุ3 – 5 ขวบ โดยให้เด็กเรียนรู้ จากประสบการณ์ตรง 8. การเล่นเป็นการเรียนรู้ที่สําคัญของเด็ก Froebel ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
15.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ ควรยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง ให้เสรีภาพแก่เด็กที่จะเรียนรู้ตามความต้องการและความสนใจของตน การจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่เด็กจะต้องมีความแตกต่างไปจากการจัดให้ผู้ใหญ่ จัดให้เด็กได้เรียนรู้จากธรรมชาติและเป็นไปตามธรรมชาติ จะต้องคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความพร้อมของเด็ก ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่
20
16.
จัดให้เด็กได้เรียนรู้จากธรรมชาติและเป็นไปตามธรรมชาติ ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment) ให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระ ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ให้เด็กได้เรียนจากของจริงและประสบการณ์จริง ให้เด็กได้เรียนรู้จากผลของการกระทําของตน ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
17.
OUTLINE ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 Natural
UnfoldmentMental Discipline Apperception, Herbartianism CognitivismBehaviorism Humanism Electicism
18.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception or Herbartianism) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่
20 John Locke Wilhelm Wundt Titchener Herbart
19.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception or
Herbartianism) 1.มนุษย์เกิดมาไม่มีทั้งความดีและความเลวในตัวเอง การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากแรงกระตุ้นภายนอกหรือ สิ่งแวดล้อม (neutral - passive) 2. คนเราเกิดมาพร้อมกับจิตหรือสมองที่ว่างเปล่า (tabula rasa) การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคล ได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 3. จิตมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือการสัมผัสทั้ง 5 (sensation) และการรู้สึก (feeling) คือการตีความ หรือแปลความหมายจากการสัมผัส 4.ทิชเชเนอร์ มีความเห็นเช่นเดียวกับวุนด์ แต่ได้เพิ่มส่วนประกอบของจิตอีก 1 ส่วน ได้แก่ จินตนาการ (imagination) คือการคิดวิเคราะห์
20.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception or Herbartianism) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่
20 5. แฮร์บาร์ต เชื่อว่าการเรียนรู้มี 3 ระดับ 6. การสอนควรเริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนเสียก่อนแล้วจึงเสนอความรู้ใหม่ ต่อไป เกิดความคิดรวบยอดและเข้าใจ (conceptual thinking or understanding) ขั้นจําความคิดเดิม (memory characterized) ขั้นการเรียนรู้โดยประสาทสัมผัส (sense activity)
21.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception or Herbartianism) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่
20 การจัดการเรียนการสอน จัดให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 การช่วยให้ผู้เรียนสร้างสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ สอนโดยดําเนินการตาม 5 ขั้นตอนของแฮร์บาร์ต
22.
ขั้นเตรียมการหรือขั้นนํา (preparation) ขั้นเสนอ (presentation) ขั้นการสัมพันธ์ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ (comparison and abstraction) ขั้นสรุป (generalization) ขั้นประยุกต์ใช้ (application) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception
or Herbartianism) ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 5 ขั้นตอนของแฮร์บาร์ต
Download