ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ก

ชื่องานวิจัย    การพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนภาษาไทย
                เรื่ อง ชนิดของคา โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์
                                                                               ้
                ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านโนนระเวียง จังหวัดนครราชสี มา
ผู้วจัย
    ิ           นางปวริ ศา พิกุล

                                           บทคัดย่อ

              การวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรี ยบเทียบความสามารถในการอ่าน
                       ั        ั
คิดวิเคราะห์ และเขียนภาษาไทย เรื่ อง ชนิดของคา ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ก่อนและหลัง
เรี ยน โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ (2) เพื่อพัฒนาบทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา (3) เพื่อศึกษาดัชนีประสิ ทธิผลของ
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ องชนิดของคา (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติ
พอยท์เม้าส์ เป็ นสื่ อการเรี ยน
              กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553
โรงเรี ยนบ้านโนนระเวียง อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสี มา จานวน 18 คน ได้มาโดยการ
เลือกแบบเจาะจง เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ภาษาไทยที่ใช้
                                            ั
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์เป็ นสื่ อการเรี ยน (2) แบบทดสอบวัความ
สามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เรื่ อง ชนิดของคา (3) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
แบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้
            ้
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ วิเคราะห์ขอมูลโดยใช้คาเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบน
                                              ้                  ้               ่
มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test แบบ dependent) และการหา ประสิ ทธิภาพ (E1/E2)
              ผลการวิจยพบว่า (1) นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติ
                         ั
พอยท์เม้าส์ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนภาษาไทย เรื่ อง ชนิดของคา หลังเรี ยน
สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติ
                             ั
พ้อยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่สร้างขึ้นมีประสิ ทธิภาพ
82.91/85.14 ซึ่ งมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ (3) ดัชนีประสิ ทธิผลของบทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา มีค่าเท่ากับ 0.8076 แสดงว่าผูเ้ รี ยนมี
ความก้าวหน้าในการเรี ยนขึ้นร้อยละ 80.76 (4) นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้บทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา เป็ นสื่ อการเรี ยน อยูในระดับมากที่สุด
                                                                                     ่

More Related Content

บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์

  • 1. ก ชื่องานวิจัย การพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนภาษาไทย เรื่ อง ชนิดของคา โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ ้ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนบ้านโนนระเวียง จังหวัดนครราชสี มา ผู้วจัย ิ นางปวริ ศา พิกุล บทคัดย่อ การวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรี ยบเทียบความสามารถในการอ่าน ั ั คิดวิเคราะห์ และเขียนภาษาไทย เรื่ อง ชนิดของคา ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ก่อนและหลัง เรี ยน โดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ (2) เพื่อพัฒนาบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา (3) เพื่อศึกษาดัชนีประสิ ทธิผลของ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ องชนิดของคา (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติ พอยท์เม้าส์ เป็ นสื่ อการเรี ยน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนบ้านโนนระเวียง อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสี มา จานวน 18 คน ได้มาโดยการ เลือกแบบเจาะจง เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ภาษาไทยที่ใช้ ั บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์เป็ นสื่ อการเรี ยน (2) แบบทดสอบวัความ สามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เรื่ อง ชนิดของคา (3) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน แบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้ ้ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ วิเคราะห์ขอมูลโดยใช้คาเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบน ้ ้ ่ มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test แบบ dependent) และการหา ประสิ ทธิภาพ (E1/E2) ผลการวิจยพบว่า (1) นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติ ั พอยท์เม้าส์ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนภาษาไทย เรื่ อง ชนิดของคา หลังเรี ยน สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติ ั พ้อยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่สร้างขึ้นมีประสิ ทธิภาพ 82.91/85.14 ซึ่ งมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ (3) ดัชนีประสิ ทธิผลของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา มีค่าเท่ากับ 0.8076 แสดงว่าผูเ้ รี ยนมี ความก้าวหน้าในการเรี ยนขึ้นร้อยละ 80.76 (4) นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนแบบมัลติพอยท์เม้าส์ เรื่ อง ชนิดของคา เป็ นสื่ อการเรี ยน อยูในระดับมากที่สุด ่