ݺߣ
Submit Search
บส
•
Download as PPT, PDF
•
2 likes
•
8,476 views
K
kruruty
Follow
1 of 11
Download now
Downloaded 11 times
More Related Content
บส
1.
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความเป็นบส
จัดทำโดย นาย วิรุตม์ แสนเขียว นาย ภาณุพงศ์ สุธรรม นาย วัชระ ธรรมสอน เสนอ อาจารณ์ รัตนพงศ์ ใจการ
2.
สมบัติของบส
สารที่เป็นบส หมายถึง สารที่ละลายน้ำแล้วมีสมบัติดังต่อไปนี้ 1 . เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน 2 . มีรสฝาด 3 . เมื่อถูกกับมือจะรู้สึกลื่น 4 . เมื่อทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมไนเตรตจะให้ก๊าซแอมโมเนียซึ่งมีกลิ่นฉุน 5 . เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำมันพืชหรือน้ำมันหมูจะมีสมบัติเหมือนสบู่ 6 . เมื่อทำปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม จะทำให้อะลูมิเนียมผุกร่อน และมีฟองก๊าซ ไฮโดรเจนเกิดขี้น 7 . บสจะกัดเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต ดังนั้นเมื่อหกรดร่างกายต้องรีบล้างออก ด้วยน้ำทันที
3.
ความเป็น กรด
– บส กรด ( Acid ) หมายถึง สสารที่ปล่อยประจุไฮโดรเนียม ( H 3 O +) ให้กับสารละลาย ตัวอย่างเช่น เมื่อผสมน้ำกับกรดเกลือ ทำให้เกิด ประจุไฮโดรเนียม และประจแคลเซียม ตามสูตร H 2 O + HCl - > ( H 3 O +) + Cl - สสารที่เป็นกรด ได้แก่ กรดกำมะถัน ( H 2 SO 4) น้ำส้มสายชู ( CH 3 COOH ) บส ( Base ) หมายถึง สสารที่ปล่อยประจุไฮดรอกไซด์ ( OH -) ให้กับสารละลาย ตัวอย่างเช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ เมื่อแตกตัวจะให้ประจุไฮดรอกไซด์ ตามสูตร NaCL - > Na + + OH - เมื่อโลหะไฮดรอกไซด์ละลายน้ำ มันจะปล่อยประจุไฮดรอกไซด์ออกมา เราเรียกว่า “ ด่าง ” ( Alkali ) สสารที่เป็นบส ได้แก่ ปูนซีเมนต์ ( CaO ) แอมโมเนีย ( NH 3)
4.
สารที่ใช้ในบ้านที่มีสมบัติเป็นบส ได้แก่ ผงฟู
( โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ) น้ำปูนใส ( แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ) น้ำขี้เถ้า น้ำสบู่ น้ำยาเช็ดกระจก สารละลายปุ๋ยยูเรีย สารละลายโซดาไฟ เป็นต้น การใช้สารที่มีสมบัติเป็นบสสำหรับปรุงอาหาร เช่น ผงฟู น้ำปูนใส ถ้าใช้
5.
ปริมาณน้อยจะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
แต่หากใช้ปริมาณมากจะเป็นโทษต่อร่างกายได้เพราะอาจทำลายเนื้อเยื่อของร่างกาย สารที่เป็นบสบางชนิดมีสมบัติความเป็นบสที่รุนแรง ซึ่งสามารถทำลายผิวหนังและเนื้อเยื่อของร่างกาย รวมทั้งอาจกัดกร่อนโลหะได้ เช่น สารโซเดียมไฮดรอกไซด์ ( โซดาไฟ ) ถ้าร่างกายสัมผัสกับบสชนิดนี้จะต้องใช้น้ำสะอาดล้างบสออกให้หมดทันทีและที่สำคัญไม่ควรนำบสชนิดนี้มาใช้ประกอบอาหาร การเก็บรักษาสารที่มีสมบัติเป็นบสไว้ใช้ในบ้าน ควรเก็บบสไว้ในภาชนะที่ไม่มี ส่วนผสมของอะลูมิเนียม เนื่องจากบสทำปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม ทำให้อะลูมิเนียมผุกร่อนและควรเก็บบสไว้ในที่ปลอดภัยห่างจากมือของเด็ก
6.
กรด -
บส กรด แบ่งได้ 2 ประเภทคือ กรดอินทรีย์ กรอดนินทรีย์ บส แบ่งได้ 2 ประเภทคือ บสอินทรีย์ บสอนินทรีย์ * กรด มี 2 ชื่อคือ กรดไฮโดร กับกรดออกซี่ Hydro = HCl * HBr HI HF HCN ฯลฯ กรดเหล่านี้ออกเสียง “ ไฮโดร ” นำหน้าแล้วตามด้วยสารที่ตามมา * HCl = ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ หรือ กรดเกลือ Oxy = HNO 3 H 2 SO 4 HClO 3 H 2 CO 3 * ฯลฯ กรดเหล่านี้ออกเสียง “ อิก ” ลงท้ายเสมอ * H 2 CO 3 ไม่เสถียรจะแตกตัวให้ H 2 O , CO 2
7.
บส 1 .
กรด คือ สารที่ให้โปรตอนแก่สารอื่น 2 . บส คือ สารที่รับโปรตอนจากสารอื่น ข้อเสีย สารใดที่ไม่มี H + จะบอกไม่ได้ว่าสารนั้นเป็นกรดหรือบสสารใดที่มี H + แต่แตกตัวเป็นไอออนไม่ได้จะบอกไม่ได้ว่าเป็นกรดหรือบส 1 . กรด คือ สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ H + 2 . บส คือ สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ OH - ตัวอย่าง สมการที่เป็นไปตามทฤษฎีของ อาร์เรเนียส 1 .) HCl ( aq )+ H 2 O ( l ) H 3 O +( aq ) + Cl-(aq) 2.)LiOH(s) Li+ (aq) + OH- (aq) ข้อเสีย สารใดที่ไม่ละลายน้ำไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นกรดหรือบส เบลิ่นเตต - ลาวรี ( Bronsted - Lowry ) อาร์เรเนียส ( Arrhenius )
8.
คู่กรด - บส
= สารที่เป็นคู่กรด - บสกัน H + ต่างกัน 1 ตัว โดยที่ คู่กรดจะมี H + มากกว่าคู่บส 1 ตัว ความแรงของกรดและบส = การแตกตัวในการให้โปรตอน ( กรด ) ความสามารถในการรับโปรตอน ( บส ) CH 3 COOH ( aq ) + H 2 O ( aq ) CH 3 COO - ( aq ) + H 3 O + ( aq ) **** เราต้องรู้ทิศทางการเลื่อนของสมดุลก่อน เราจึงจะบอกถึงความแรงได้ **** 1 . ถ้าสมดุลเลื่อนไปทางขวา CH 3 COOH เป็นกรดแรงกว่า H 3 O + / H 2 O เป็นบสแรงกว่า CH 3 COO -
9.
2 . ถ้าสมดุลเลื่อนไปทางซ้าย
H 3 O + เป็นกรดแรงกว่า CH 3 COOH / CH 3 COO - เป็นบสแรงกว่า H 2 O ถ้าค่า K > 1 สมดุลเลื่อนไปข้างหน้า ( สารผลิตภัณฑ์มากกว่าสารตั้งต้น ) K < 1 สมดุลเลื่อนย้อนกลับ ( สารผลิตภัณฑ์น้อยกว่าสารตั้งต้น ) K = 1 ไปข้างหน้าเท่ากับย้อนกลับ ( สารผลิตภัณฑ์ = สารตั้งต้น ) ความแรงทั้ง 2 ข้างเท่ากัน
10.
11.
จบล้ว
Download