ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
๶ทคโนโลยี
๶ทคโนโลยี (Technology) หมายถึง
     วิทยาการที่เกี่ยวกับการนาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มา
 ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
             •   Biotechnology
             •   Food technology
             •   Agricultural technology
             •   Polymer technology
             •   Environmental technology
             •   Information communication technology
๶ทคโนโลยี

           ๶ทคโนโลยี คือ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
 ศาสตร์อื่นๆมาผสมผสาน ประยุกต์เพื่อสนองเป้าหมาย เฉพาะ
 ความต้องการนาทรัพยากรต่างๆมาใช้ในการผลิตและจาหน่าย
 ให้ต่อเนื่องตลอดทั้งกระบวนการ๶ทคโนโลยีจึงมีประโยชน์และ
 เหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ หาก๶ทคโนโลยีนั้นสอดคล้อง
 กับสังคมการเมืองวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมทาง๶ทคโนโลยี
๶ทคโนโลยีประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบ 2 ประการ

1.   ความชานาญด้านความรู้ทางวิชาการ (conceptual skill) มักได้มา
     จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง การสารวจข้อมูล การปฏิบัติงาน
     การสังเกตการณ์

2.   ความชานาญทางด้านเทคนิคของการปฏิบัติงาน (craft skill) มัก
     ได้มาจากการฝึกฝน ฝึกงาน การอบรม
ระดับของ๶ทคโนโลยี
แบ่งตามความรู้ที่ใช้ได้เป็น ๓ ระดับ ดังนี้
1. ๶ทคโนโลยีระดับพื้นฐาน (Basic Technology) เป็น๶ทคโนโลยียุคแรกของ
    บรรพบุรุษที่มีการสร้างเครื่องใช้และอาวุธเพื่อการยังชีพ เป็นสังคม
    เกษตรกรรมพื้นบ้าน ผลิตโดยใช้วัสดุและทรัพยากรในท้องถิ่น และมีการ
    ถนอมอาหาร ๶ทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น ขวาน มีด พร้า อวน แห หม้อ เรือ
    พาย
2. ๶ทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology) เป็น๶ทคโนโลยีที่มี
    การใช้เครื่องมือที่ซับซ้อนมากขึ้น ใช้ความรู้และประสบการณ์ในการ
    แก้ปัญหาจากเกษตรพื้นบ้านเป็นเกษตรกรรมเมือง ๶ทคโนโลยีในระดับนี้
    เช่น การใช้เครื่องจักรแทนคน การใช้เครื่องทุ่นแรงต่างๆ การใช้สิ่งอานวย
    ความสะดวกต่างๆ เป็นต้น
3. ๶ทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) เป็น๶ทคโนโลยีที่อาศัยความรู้และ
    ประสบการณ์ขั้นสูง มีการศึกษา วิจัย และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใช้
    ระบบฐานข้อมูล การติดต่อสื่อสารในยุคไร้พรมแดน ๶ทคโนโลยีในระดับนี้
    เช่น การอุปกรณ์การแพทย์ ทีใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการวินิจฉัยและรักษา
                               ่
    โรค
พัฒนาการของ๶ทคโนโลยี แบ่งออกเป็น 5 ช่วง
     1.   ระยะคิดค้นขึ้นมา (incubation)
     2.   ระยะเริ่มนามาใช้ (introduction)
     3.   ระยะที่มีการเจริญเติบโตสูง (growth)
     4.   ระยะที่โตเต็มที่แล้ว (maturity)
     5.   ระยะที่เริ่มเสื่อมความนิยม (decline)
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี
1.       สมัยประวัตศาสตร์
                   ิ
     •     มนุษย์สนใจศึกษาและกระทาในสิ่งที่อยากรู้อยากเห็น
     •     ก่อให้เกิดวิทยาการต่างๆ มากมาย และมักเกิดรวมกับศิลปะศาสตร์อื่นๆ
     •     พัฒนาการที่เห็นชัดเจน เช่น การถลุงโลหะ การสร้างเตาความร้อนสูง
     •     สิ่งประดิษฐ์ของจีนที่สาคัญและถ่ายทอดไปสู่ยุโรป เช่น เข็มทิศ แม่เหล็ก
           ดินปืน และเครื่องพิมพ์หนังสือ
     •     อินเดียมีความรุ่งเรืองทางเภสัชวิทยา จิตวิทยา และคณิตศาสตร์
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี
2. สมัยปฏิวติอุตสาหกรรม
           ั
   –   มีการเปลี่ยนแปลงความเชื่อถือจากปรัชญาวิทยาศาสตร์โบราณมาสู่
       วิทยาศาสตร์แนวใหม่
   –   ค้นพบ และตั้งทฤษฏีใหม่จานวนมาก
   –   มีการสนับสนุนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ มีการใช้เครื่องมือเครื่องจักร
   –   เกิดปัญหาสังคม การอพยพ ชนชั้นกรรมกรถูกกดขี่และทารุณ
   –   เริ่มมีการแสวงหาอาณานิคมเพิ่มขึ้นเพื่อเป็นแหล่งทรัพยากรใหม่
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี
3. สมัยสงครามโลก
   สงครามมักเป็นทางออกเมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทโดยเฉพาะ
    เรื่องของผลประโยชน์
   ยุคแห่งการทุ่มเทการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ กลวิธีการทาลายข้าศึก
   วิวัฒนาการของเครื่องบินรบ

   สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดสงครามเคมี
   สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดระเบิดปรมาณู
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี

4. สมัยปัจจุบัน
      ยุคของการศึกษาค้นคว้า ความก้าวหน้าของการประยุกต์ใช้
       วิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยีสูงสุด
      ยุคของ๶ทคโนโลยีการสื่อสาร (communication technology)
      ยุคของ๶ทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)
      ยุคของนาโน๶ทคโนโลยี (nanotechnology)
ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

1. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์
     1.1 ศึกษาประวัติความเป็นมาของ๶ทคโนโลยี ทั้งอดีต ปัจจุบัน อนาคต
     1.2 ๶ทคโนโลยีช่วยสร้างสรรค์มนุษยชาติ แต่ต้องให้ผู้ผลิตและผู้ใช้ตระหนัก
    ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม
     1.3 การสารวจบทบาทของ๶ทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ ทั้งด้าน
    การศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง
     1.4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้สนองความต้องการได้อย่างชาญฉลาด
    โดยนา๶ทคโนโลยีมาสนับสนุนการจัดการ
ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

1. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์
    1.5 การนาปัจจัยต่างๆ ทางสังคมมาประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้
    เช่น ค่านิยม โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม และประเพณี
    1.6 การศึกษา วิจัย วิเคราะห์การใช้๶ทคโนโลยีในสังคมเพื่อสร้างความ
    ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวัฒนธรรมที่
    แตกต่างกัน
    1.7 การศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบทาง๶ทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและ
    ประเทศชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

     2. ความสัมพันธ์ของ๶ทคโนโลยีกับมนุษยศาสตร์
            2.1 ทักษะการฟังและการพูด พูดและฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ
        ประโยชน์ต่อการแลกเปลียนความคิดเห็นทาง๶ทคโนโลยีกับบุคคลอื่น
                                 ่
            2.2 ทักษะการเขียน เป็นการนาเสนอข้อมูลหรือการอธิบายแนวคิด
        เกี่ยวกับ๶ทคโนโลยีให้บุคคลอื่นได้รับทราบด้วยการเขียน
         2.3 ทักษะการสรุป
ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

     3. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์
            ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง
        ๶ทคโนโลยี เพราะวิทยาศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ศกษาถึงปรากฏการณ์
                                                      ึ
        ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งและสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วน
        ๶ทคโนโลยี คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นทั้งกระบวนการและเครื่องมือ
        ที่เกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรูทางวิทยาศาสตร์และ
                                                    ้
        ศาสตร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์
ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ
  3. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์
        3.1 ๶ทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
        3.2 การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ใน๶ทคโนโลยีนั้นมี
     จุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทาง๶ทคโนโลยี

         วิทยาศาสตร์เป็นตัวความรู้ ส่วน๶ทคโนโลยีเป็นการนาความรู้ไปใช้ให้
    เกิดสิ่งที่เป็นรูปธรรม วัดหรือจับต้องได้ ด้วยการนาทรัพยากรธรรมชาติ
    ต่างๆ มาใช้ในการปฏิบัติจริง
ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ




    ความรู้ทาง             ทรัพยากร          ๶ทคโนโลยี
   วิทยาศาสตร์             ธรรมชาติ
ระบบ๶ทคโนโลยี

 ๶ทคโนโลยีประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน ได้แก่

 1.ตัวป้อน (Input)
 2.กระบวนการ๶ทคโนโลยี (Technological Process)
 3.ผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ์
 4.ทรัพยากรทาง๶ทคโนโลยี (Resource)
 5.ปัจจัยที่เอือหรือขัดขวางต่อ๶ทคโนโลยี (Consideration)
               ้
ตัวป้อน (INPUT)

   ความต้องการของมนุษย์ (Need, Want) หรือ
  ปัญหาที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความต้องการที่
  อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ยารักษาโรค
กระบวนการ๶ทคโนโลยี (TECHNOLOGICAL
PROCESS)

       ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความ
 ต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change) จาก
 ทรัพยากรมาเป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์
ขั้นตอȨองกระบวนการจะประกอบด้วย
          7 ขั้นตอนดังนี้
1.กาหนดปัญหาหรือความต้องการ
2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ
     ต้องการ
3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
4.ออกแบบและปฏิบติการั
5.ทดสอบ
6.ปรับปรุงแก้ไข
7.ประเมินผล
ผลผลิตหรือผลลัพธ์
(OUTPUT OR OUTCOME)

          สิ่งที่ออกมาจากกระบวนการได้สิ่งของ
  เครื่องใช้หรือวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ
  ต้องการของมนุษย์
ทรัพยากรทาง๶ทคโนโลยี (RESOURCE)
  1.คน (Human)
  2.ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ (Data and Informations)
  3.วัสดุ (Materials)
  4.เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Machine and Tools)
  5.พลังงาน (Energy)
  6.ทุน (Capital) และทรัพย์สิน (Asset)
  7.เวลา (Time)
ปัจจัยที่สนับสนุนหรือขัดขวางต่อ๶ทคโนโลยี
(CONSIDERATION)


        เป็นข้อจากัด ข้อพิจารณาหรือสิ่งที่ต้องคานึงถึงซึ่งจะทา
ให้ระบบทางานได้มากน้อยต่างกันซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับทรัพยากร
ทาง๶ทคโนโลยี นั่นคือ ทรัพยากรจะเป็นทั้งตัวทรัพยากร และ
เป็นปัจจัยที่เอื้อ หรือขัดขวางต่อ๶ทคโนโลยีด้วย เช่น ทุนทรัพย์
น้อย เวลาจากัด ข้อจากัดของความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ของ
แต่ ล ะบุ ค คล จุ ด มุ่ ง หมายจ าเพาะ นอกจากจะเป็ น ข้ อ จ ากั ด
แล้ ว ยั งอาจรวมไปถึ ง ความเคารพนั บ ถื อ ความเชื่ อ ความ
ศรัทธา ศาสนา วัฒนธรรม และบารมี ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ระบบ
ทางานได้มากน้อยต่างกันด้วย
๶ทคโนโลยีกับมนุษย์
         1.๶ทคโนโลยีเกิดจากความต้องการตามจุดมุ่งหมายของมนุษย์เพื่อ
 ส่งผลตามที่ตนปรารถนา
        2.๶ทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้
 และสารสนเทศ เครื่องมือ อุปกรณ์ พลังงานในการสร้าง๶ทคโนโลยี เป็นต้น
         3.๶ทคโนโลยีเป็นกิจกรรมของมนุษย์ที่เกิดจากการคิด การแก้ปัญหา
 การทดลอง และ การออกแบบสิ่งประดิษฐ์และวิธีการซึ่งได้มาจากกระบวนการ
 นาความรู้และประสบการณ์ โดยใช้เทคนิควิธีการตลอดจนใช้ทักษะและ
 ทรัพยากรต่าง ๆ
           4.มนุษย์ใช้กระบวนการทาง๶ทคโนโลยี เพื่อให้ได้ผลผลิต (Product)
 หรือวิธีการต่าง ๆเป็นกิจกรรมที่มุ่งสนองจุดประสงค์ตามความพึงพอใจของ
 มนุษย์
ปัจจัยที่ทาให้เกิด๶ทคโนโลยี
           1.ความจาเป็นในการดารงชีวิต มนุษย์จาเป็นต้องใช้๶ทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ
ปัจจัยหลัก ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวมไปถึงปัจจัย
อื่น ๆที่จาเป็นที่เกี่ยวข้องชีวิตประจาวันอีกมากมาย
          2.ความต้องการอยู่รอดให้พ้นจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว น้าท่วม ทาให้
มนุษย์ ต้องดิ้นรนป้องกันและหาวิธีการต่างๆ ทาให้เกิด๶ทคโนโลยีการตรวจจับและ
พยากรณ์แผ่นดินไหว
             3.ความใฝ่รู้ของมนุษย์ทาให้เกิดการคิดค้น๶ทคโนโลยีประเภทอุปกรณ์และ
เครื่องมือ
        4.ต้องการความบันเทิงและการพักผ่อน ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ชอบ
กิจกรรมบันเทิงจึงทาให้เกิด๶ทคโนโลยีเพื่อสนองตอบความต้องการ
       5.การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เป็นสิ่งที่ผลักดันให้มีการคิดค้น
๶ทคโนโลยี
การวิเคราะห์ระบบ๶ทคโนโลยี
      การวิเคราะห์ระบบ๶ทคโนโลยีทาให้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด้านต่างๆ ที่
 มีผลต่อการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ทังปัจจัยด้านตัวป้อน ด้าน
                                              ้
 กระบวนการ และผลลัพธ์ ดังนี้
  1.ความต้องการใช้พลังงาน มีความต้องการใช้มากขึ้น
 2.การเกิดโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นจานวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษ
 ทั้งทางน้า อากาศ ฯลฯ
  3.การคมนาคมและการขนส่ง ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษอากาศ ทาง
 เสียง ฯลฯ
  4.คุณธรรมจริยรรม ๶ทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทาง
 ก่อเกิดประโยชน์ ถ้าผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ
 อนาจารบนอินเตอร์เน็ต
การวิเคราะห์ระบบ๶ทคโนโลยี

 4.คุณธรรมจริยธรรม ๶ทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทางก็ก่อ
 เกิดประโยชน์ ถ้าใช้ผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ
 อนาจารบนอินเตอร์เน็ต การผลิตอาวุธชีวภาพ ฯลฯ
     หากทุกคนดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายใต้กติกา 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ก็จะเป็นการ
 สร้างทรัพยากร๶ทคโนโลยีที่มีคุณภาพ
 3 ห่วง คือ 1.พอประมาณ 2.มีเหตุผล 3.มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
 2 เงื่อนไข คือ 1.เงื่อนไขความรู้ 2.เงื่อนไขคุณธรรม

More Related Content

ระบบ๶ทคโนโลยี

  • 2. ๶ทคโนโลยี (Technology) หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับการนาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มา ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม • Biotechnology • Food technology • Agricultural technology • Polymer technology • Environmental technology • Information communication technology
  • 3. ๶ทคโนโลยี ๶ทคโนโลยี คือ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ ศาสตร์อื่นๆมาผสมผสาน ประยุกต์เพื่อสนองเป้าหมาย เฉพาะ ความต้องการนาทรัพยากรต่างๆมาใช้ในการผลิตและจาหน่าย ให้ต่อเนื่องตลอดทั้งกระบวนการ๶ทคโนโลยีจึงมีประโยชน์และ เหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ หาก๶ทคโนโลยีนั้นสอดคล้อง กับสังคมการเมืองวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมทาง๶ทคโนโลยี
  • 4. ๶ทคโนโลยีประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบ 2 ประการ 1. ความชานาญด้านความรู้ทางวิชาการ (conceptual skill) มักได้มา จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง การสารวจข้อมูล การปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ 2. ความชานาญทางด้านเทคนิคของการปฏิบัติงาน (craft skill) มัก ได้มาจากการฝึกฝน ฝึกงาน การอบรม
  • 5. ระดับของ๶ทคโนโลยี แบ่งตามความรู้ที่ใช้ได้เป็น ๓ ระดับ ดังนี้ 1. ๶ทคโนโลยีระดับพื้นฐาน (Basic Technology) เป็น๶ทคโนโลยียุคแรกของ บรรพบุรุษที่มีการสร้างเครื่องใช้และอาวุธเพื่อการยังชีพ เป็นสังคม เกษตรกรรมพื้นบ้าน ผลิตโดยใช้วัสดุและทรัพยากรในท้องถิ่น และมีการ ถนอมอาหาร ๶ทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น ขวาน มีด พร้า อวน แห หม้อ เรือ พาย
  • 6. 2. ๶ทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology) เป็น๶ทคโนโลยีที่มี การใช้เครื่องมือที่ซับซ้อนมากขึ้น ใช้ความรู้และประสบการณ์ในการ แก้ปัญหาจากเกษตรพื้นบ้านเป็นเกษตรกรรมเมือง ๶ทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น การใช้เครื่องจักรแทนคน การใช้เครื่องทุ่นแรงต่างๆ การใช้สิ่งอานวย ความสะดวกต่างๆ เป็นต้น
  • 7. 3. ๶ทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) เป็น๶ทคโนโลยีที่อาศัยความรู้และ ประสบการณ์ขั้นสูง มีการศึกษา วิจัย และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใช้ ระบบฐานข้อมูล การติดต่อสื่อสารในยุคไร้พรมแดน ๶ทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น การอุปกรณ์การแพทย์ ทีใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการวินิจฉัยและรักษา ่ โรค
  • 8. พัฒนาการของ๶ทคโนโลยี แบ่งออกเป็น 5 ช่วง 1. ระยะคิดค้นขึ้นมา (incubation) 2. ระยะเริ่มนามาใช้ (introduction) 3. ระยะที่มีการเจริญเติบโตสูง (growth) 4. ระยะที่โตเต็มที่แล้ว (maturity) 5. ระยะที่เริ่มเสื่อมความนิยม (decline)
  • 9. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี 1. สมัยประวัตศาสตร์ ิ • มนุษย์สนใจศึกษาและกระทาในสิ่งที่อยากรู้อยากเห็น • ก่อให้เกิดวิทยาการต่างๆ มากมาย และมักเกิดรวมกับศิลปะศาสตร์อื่นๆ • พัฒนาการที่เห็นชัดเจน เช่น การถลุงโลหะ การสร้างเตาความร้อนสูง • สิ่งประดิษฐ์ของจีนที่สาคัญและถ่ายทอดไปสู่ยุโรป เช่น เข็มทิศ แม่เหล็ก ดินปืน และเครื่องพิมพ์หนังสือ • อินเดียมีความรุ่งเรืองทางเภสัชวิทยา จิตวิทยา และคณิตศาสตร์
  • 10. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี 2. สมัยปฏิวติอุตสาหกรรม ั – มีการเปลี่ยนแปลงความเชื่อถือจากปรัชญาวิทยาศาสตร์โบราณมาสู่ วิทยาศาสตร์แนวใหม่ – ค้นพบ และตั้งทฤษฏีใหม่จานวนมาก – มีการสนับสนุนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ มีการใช้เครื่องมือเครื่องจักร – เกิดปัญหาสังคม การอพยพ ชนชั้นกรรมกรถูกกดขี่และทารุณ – เริ่มมีการแสวงหาอาณานิคมเพิ่มขึ้นเพื่อเป็นแหล่งทรัพยากรใหม่
  • 11. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี 3. สมัยสงครามโลก  สงครามมักเป็นทางออกเมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทโดยเฉพาะ เรื่องของผลประโยชน์  ยุคแห่งการทุ่มเทการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ กลวิธีการทาลายข้าศึก  วิวัฒนาการของเครื่องบินรบ  สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดสงครามเคมี  สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดระเบิดปรมาณู
  • 12. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยี 4. สมัยปัจจุบัน  ยุคของการศึกษาค้นคว้า ความก้าวหน้าของการประยุกต์ใช้ วิทยาศาสตร์และ๶ทคโนโลยีสูงสุด  ยุคของ๶ทคโนโลยีการสื่อสาร (communication technology)  ยุคของ๶ทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)  ยุคของนาโน๶ทคโนโลยี (nanotechnology)
  • 13. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 1. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์ 1.1 ศึกษาประวัติความเป็นมาของ๶ทคโนโลยี ทั้งอดีต ปัจจุบัน อนาคต 1.2 ๶ทคโนโลยีช่วยสร้างสรรค์มนุษยชาติ แต่ต้องให้ผู้ผลิตและผู้ใช้ตระหนัก ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม 1.3 การสารวจบทบาทของ๶ทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ ทั้งด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง 1.4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้สนองความต้องการได้อย่างชาญฉลาด โดยนา๶ทคโนโลยีมาสนับสนุนการจัดการ
  • 14. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 1. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์ 1.5 การนาปัจจัยต่างๆ ทางสังคมมาประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้ เช่น ค่านิยม โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม และประเพณี 1.6 การศึกษา วิจัย วิเคราะห์การใช้๶ทคโนโลยีในสังคมเพื่อสร้างความ ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวัฒนธรรมที่ แตกต่างกัน 1.7 การศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบทาง๶ทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและ ประเทศชาติ
  • 15. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 2. ความสัมพันธ์ของ๶ทคโนโลยีกับมนุษยศาสตร์ 2.1 ทักษะการฟังและการพูด พูดและฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ ประโยชน์ต่อการแลกเปลียนความคิดเห็นทาง๶ทคโนโลยีกับบุคคลอื่น ่ 2.2 ทักษะการเขียน เป็นการนาเสนอข้อมูลหรือการอธิบายแนวคิด เกี่ยวกับ๶ทคโนโลยีให้บุคคลอื่นได้รับทราบด้วยการเขียน 2.3 ทักษะการสรุป
  • 16. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 3. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง ๶ทคโนโลยี เพราะวิทยาศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ศกษาถึงปรากฏการณ์ ึ ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งและสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วน ๶ทคโนโลยี คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นทั้งกระบวนการและเครื่องมือ ที่เกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรูทางวิทยาศาสตร์และ ้ ศาสตร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์
  • 17. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 3. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ 3.1 ๶ทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ 3.2 การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ใน๶ทคโนโลยีนั้นมี จุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทาง๶ทคโนโลยี วิทยาศาสตร์เป็นตัวความรู้ ส่วน๶ทคโนโลยีเป็นการนาความรู้ไปใช้ให้ เกิดสิ่งที่เป็นรูปธรรม วัดหรือจับต้องได้ ด้วยการนาทรัพยากรธรรมชาติ ต่างๆ มาใช้ในการปฏิบัติจริง
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่าง๶ทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ความรู้ทาง ทรัพยากร ๶ทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ
  • 19. ระบบ๶ทคโนโลยี ๶ทคโนโลยีประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน ได้แก่ 1.ตัวป้อน (Input) 2.กระบวนการ๶ทคโนโลยี (Technological Process) 3.ผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ์ 4.ทรัพยากรทาง๶ทคโนโลยี (Resource) 5.ปัจจัยที่เอือหรือขัดขวางต่อ๶ทคโนโลยี (Consideration) ้
  • 20. ตัวป้อน (INPUT) ความต้องการของมนุษย์ (Need, Want) หรือ ปัญหาที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความต้องการที่ อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ยารักษาโรค
  • 21. กระบวนการ๶ทคโนโลยี (TECHNOLOGICAL PROCESS) ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความ ต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change) จาก ทรัพยากรมาเป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์
  • 22. ขั้นตอȨองกระบวนการจะประกอบด้วย 7 ขั้นตอนดังนี้ 1.กาหนดปัญหาหรือความต้องการ 2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการ 3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ 4.ออกแบบและปฏิบติการั 5.ทดสอบ 6.ปรับปรุงแก้ไข 7.ประเมินผล
  • 23. ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (OUTPUT OR OUTCOME) สิ่งที่ออกมาจากกระบวนการได้สิ่งของ เครื่องใช้หรือวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการของมนุษย์
  • 24. ทรัพยากรทาง๶ทคโนโลยี (RESOURCE) 1.คน (Human) 2.ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ (Data and Informations) 3.วัสดุ (Materials) 4.เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Machine and Tools) 5.พลังงาน (Energy) 6.ทุน (Capital) และทรัพย์สิน (Asset) 7.เวลา (Time)
  • 25. ปัจจัยที่สนับสนุนหรือขัดขวางต่อ๶ทคโนโลยี (CONSIDERATION) เป็นข้อจากัด ข้อพิจารณาหรือสิ่งที่ต้องคานึงถึงซึ่งจะทา ให้ระบบทางานได้มากน้อยต่างกันซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับทรัพยากร ทาง๶ทคโนโลยี นั่นคือ ทรัพยากรจะเป็นทั้งตัวทรัพยากร และ เป็นปัจจัยที่เอื้อ หรือขัดขวางต่อ๶ทคโนโลยีด้วย เช่น ทุนทรัพย์ น้อย เวลาจากัด ข้อจากัดของความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ของ แต่ ล ะบุ ค คล จุ ด มุ่ ง หมายจ าเพาะ นอกจากจะเป็ น ข้ อ จ ากั ด แล้ ว ยั งอาจรวมไปถึ ง ความเคารพนั บ ถื อ ความเชื่ อ ความ ศรัทธา ศาสนา วัฒนธรรม และบารมี ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ระบบ ทางานได้มากน้อยต่างกันด้วย
  • 26. ๶ทคโนโลยีกับมนุษย์ 1.๶ทคโนโลยีเกิดจากความต้องการตามจุดมุ่งหมายของมนุษย์เพื่อ ส่งผลตามที่ตนปรารถนา 2.๶ทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ และสารสนเทศ เครื่องมือ อุปกรณ์ พลังงานในการสร้าง๶ทคโนโลยี เป็นต้น 3.๶ทคโนโลยีเป็นกิจกรรมของมนุษย์ที่เกิดจากการคิด การแก้ปัญหา การทดลอง และ การออกแบบสิ่งประดิษฐ์และวิธีการซึ่งได้มาจากกระบวนการ นาความรู้และประสบการณ์ โดยใช้เทคนิควิธีการตลอดจนใช้ทักษะและ ทรัพยากรต่าง ๆ 4.มนุษย์ใช้กระบวนการทาง๶ทคโนโลยี เพื่อให้ได้ผลผลิต (Product) หรือวิธีการต่าง ๆเป็นกิจกรรมที่มุ่งสนองจุดประสงค์ตามความพึงพอใจของ มนุษย์
  • 27. ปัจจัยที่ทาให้เกิด๶ทคโนโลยี 1.ความจาเป็นในการดารงชีวิต มนุษย์จาเป็นต้องใช้๶ทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ปัจจัยหลัก ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวมไปถึงปัจจัย อื่น ๆที่จาเป็นที่เกี่ยวข้องชีวิตประจาวันอีกมากมาย 2.ความต้องการอยู่รอดให้พ้นจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว น้าท่วม ทาให้ มนุษย์ ต้องดิ้นรนป้องกันและหาวิธีการต่างๆ ทาให้เกิด๶ทคโนโลยีการตรวจจับและ พยากรณ์แผ่นดินไหว 3.ความใฝ่รู้ของมนุษย์ทาให้เกิดการคิดค้น๶ทคโนโลยีประเภทอุปกรณ์และ เครื่องมือ 4.ต้องการความบันเทิงและการพักผ่อน ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ชอบ กิจกรรมบันเทิงจึงทาให้เกิด๶ทคโนโลยีเพื่อสนองตอบความต้องการ 5.การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เป็นสิ่งที่ผลักดันให้มีการคิดค้น ๶ทคโนโลยี
  • 28. การวิเคราะห์ระบบ๶ทคโนโลยี การวิเคราะห์ระบบ๶ทคโนโลยีทาให้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด้านต่างๆ ที่ มีผลต่อการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ทังปัจจัยด้านตัวป้อน ด้าน ้ กระบวนการ และผลลัพธ์ ดังนี้ 1.ความต้องการใช้พลังงาน มีความต้องการใช้มากขึ้น 2.การเกิดโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นจานวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษ ทั้งทางน้า อากาศ ฯลฯ 3.การคมนาคมและการขนส่ง ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษอากาศ ทาง เสียง ฯลฯ 4.คุณธรรมจริยรรม ๶ทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทาง ก่อเกิดประโยชน์ ถ้าผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ อนาจารบนอินเตอร์เน็ต
  • 29. การวิเคราะห์ระบบ๶ทคโนโลยี 4.คุณธรรมจริยธรรม ๶ทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทางก็ก่อ เกิดประโยชน์ ถ้าใช้ผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ อนาจารบนอินเตอร์เน็ต การผลิตอาวุธชีวภาพ ฯลฯ หากทุกคนดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายใต้กติกา 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ก็จะเป็นการ สร้างทรัพยากร๶ทคโนโลยีที่มีคุณภาพ 3 ห่วง คือ 1.พอประมาณ 2.มีเหตุผล 3.มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว 2 เงื่อนไข คือ 1.เงื่อนไขความรู้ 2.เงื่อนไขคุณธรรม