ประชาคมอาเซียน
- 1. เปิดประตูสู่ "อาเซียน"
ASEAN ย่อมาจากคาว่าAssociationofSoutheastAsian Nations มีชื่อเป็นทางการว่า
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือเรียกสั้นๆว่าอาเซียน
อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5ประเทศได้แก่ อินโดนิเซียมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์
และไทยร่วมกันจัดทาปฏิญญาอาเซียน(TheASEAN Declaration)ที่มีชื่อว่า ปฏิญญากรุงเทพฯ(BangkokDeclaration)
เนื่องจากมีการลงนามปฏิญญาเมื่อวันที่8สิงหาคมพ.ศ. 2510ที่วังสราญรมย์ซึ่งในเวลานั้นเป้ นที่ตั้งของกระทรวงการต่างประเทศ
กรุงเทพมหานคร
คาขวัญของอาเซียนคือ“ OneVision, OneIdentity, One Community.”หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม
เดิมกาหนดเป้ าหมายที่จะตั้งขึ้นในปี 2563แต่ต่อมาได้ตกลงกันเลื่อนกาหนดให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558
และก้าวสาคัญต่อมาคือการจัดทาปฏิญญาอาเซียน(ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใช้บังคับแล้วตั้งแต่เดือนธันวาคมปี 2552
นับเป็นการยกระดับความร่วมมือของอาเซียนเข้าสู่มิติใหม่ในการสร้างประชาคม
โดยมีพื้นฐานที่แข็งแกร่งทางกฎหมายและมีองค์กรรองรับการดาเนินการเข้าสู่เป้ าหมายดังกล่าวภายในปี 2558
ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียนรวม10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซียอินโดนีเซียฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนามลาวกัมพูชา
บรูไน
สาหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN EconomicCommunityหรือ AEC )ภายในปี 2558
เพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการการลงทุนแรงงานฝีมืออย่างเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้นต่อมาในปี 2550
อาเซียนได้จัดทาพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AECBlueprint)
เป็นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AECซึ่งประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้านต่างๆ
พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดาเนินมาตรการต่างๆจนบรรลุเป้ าหมายในปี 2558
รวมทั้งการให้ความยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า
ในอนาคต AEC จะเป็นอาเซียน+3โดยจะเพิ่มประเทศจีนเกาหลีใต้ และญี่ปุ่นเข้ามาอยู่ด้วยและต่อไปก็จะมีการเจรจาอาเซียน+6
จะมีประเทศ จีนเกาหลีใต้ ญี่ปุ่นออสเตรเลียนิวซีแลนด์และ อินเดียต่อไป
สัญลักษณ์ของอาเซียน
- 2. รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้าเงิน
-รูปรวงข้าวสีเหลือง10ต้นมัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
-พื้นที่วงกลมสีแดงสีขาวและน้าเงินซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
-ตัวอักษรคาว่า“asean”สีน้าเงินอยู่ใต้ภาพรวงข้าวอันแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกันเพื่อความมั่นคงสันติภาพเอกภาพ
และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
อาเซียนรวมตัวกันเพื่อความร่วมมือกันทางการเมืองความมั่นคงเศรษฐกิจและวัฒนธรรมและได้มีการพัฒนาการเรื่อยมา
จนถึงขณะนี้ที่เรามีกฎบัตรอาเซียน(ธรรมนูญอาเซียนหรือ ASEAN Charter)
ซึ่งเป็นเสมือนแนวทางการดาเนินงานที่จะนาไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนซึ่งประกอบด้วย 3เสาหลักคือ
1.การเมืองความมั่นคง
2.เศรษฐกิจ(AEC)
3.สังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งทั้งหมดนี้ก็มีพัฒนาการไปด้วยกันโดยเหตุที่คนส่วนใหญ่มักจะพูดถึงแต่ AECซึ่งก็คือด้านเศรษฐกิจหรือ
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
คงเป็นเพราะว่าเรื่องเศรษฐกิจเป็นเรื่องที่ดูจะจับต้องได้มากกว่าเรื่องอื่นๆ อีกทั้งในการขับเคลื่อนส่วนใหญ่แล้วที่มักจะก้าวไปเร็วกว่าส่
วนอื่นๆก็คือภาคธุรกิจดังนั้นคนอาจจะรับรู้เรื่องAEC มากกว่ามิติความร่วมมืออื่นๆของอาเซียน
อย่างไรก็ดีความร่วมมือทั้ง3เสาหลักของอาเซียนก็มีความสาคัญด้วยกันทั้งสิ้น
เพราะการสร้างประชาคมอาเซียนย่อมหมายถึงการร่วมมือและหลอมรวมกันในทุกมิติ
และแต่ละมิติก็ล้วนมีความสาคัญและส่งเสริมซึ่งกันและกัน
เราคงไม่อาจผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจได้หากปราศจากความมั่นคงทางการเมืองหรือความเข้าใจกันของคนในอาเซียน
ขณะนี้มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเรื่องการเปิดเสรีแรงงานในอาเซียนจะทาได้อย่างอิสระตัวอย่างเช่น
แรงงานสามารถข้ามฝั่งโขงไปก็หางานทาอีกประเทศหนึ่งได้เลยข้อเท็จจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น
เพราะการเปิดเสรีด้านแรงงานที่อาเซียนได้เจรจากันครอบคลุมเฉพาะในส่วนของแรงงานมีฝีมือ
ขณะนี้อาเซียนได้จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัติวิชาชีพเพียง7สาขาคือแพทย์ ทันตแพทย์พยาบาลนักบัญชีวิศวกร
สถาปนิกและชางสารวจแต่การที่แรงงานมีฝีมือใน7สาขาดังว่าจะเข้ามาทางานในประเทศต่างๆในอาเซียนได้
จะต้องทาตามขั้นตอนและกฎระเบียบภายในประเทศต่างๆอยู่ดีเช่น
หากต้องการทางานในไทยก็ต้องผ่านการสอบใบประกอบวิชาชีพหรือผ่านขั้นตอนการประเมินตามเงื่อนไขภายใต้การกากับดูแลของหน่
วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยเสียก่อน
อย่างไรก็ตามในส่วนของแรงงานไร้ฝีมือไม่อยู่ในขอบเขตของการเปิดเสรีด้านบริการอาเซียน
ดังนั้นการเปิดเสรีเป็นคนละส่วนกับปัญหาแรงงานต่างด้าวทั่วไปรวมถึงแรงงานต่างด้าวที่ลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
ซึ่งในส่วนนั้นประเทศไทยได้พยายามร่วมมือกับรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเพื่อแก้ไขปัญหาและจัดระเบียบ
- 3. เมื่อไม่นานมานี้มีการสอบถามความตระหนักรู้ของประชาชนใน10ประเทศสมาชิกเกี่ยวกับอาเซียนปรากฏว่าไทยอยู่ในอันดับท้ายๆ
ขณะที่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน(CLMV) อย่าง ลาวกัมพูชาเมียนมาร์ และเวียดนาม
กลับรู้จักและเห็นความสาคัญของอาเซียนมากกว่าเพราะเขาติดตามข่าวสารเกี่ยวกับประเทศไทยซื้อสินค้าไทยดูละครไทย
และเรียนรู้ภาษาไทยกันมากขึ้นคนไทยเป็นคนเก่งมีจุดแข็งและมีความโดดเด่นหลายด้านและไม่ได้ด้อยเรื่องความรู้ความสามารถ
แต่ยังมีจุดอ่อนอันดับแรกในเรื่องของภาษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาทางการของอาเซียนซึ่งต้องพัฒนาอีกมาก
นอกจากนี้เราต้องหันมาให้ความสนใจกับประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนด้วยกันเองมากขึ้นว่าตอนนี้เขาทาอะไรกัน
มีพัฒนาการในเรื่องใดมีความแข็งแกร่งและมีจุดอ่อนในเรื่องไหนเพราะเมื่อรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558
ประเทศในอาเซียนจะมีการติดต่อกันมากขึ้น
อาเซียนน่ารู้
สานักงานเลาขาธิการอาเซียนแห่งชาติ(ASEAN NationalSecretariat)
มีหน้าที่ประสานงานกิจการอาเซียนและติดตามผลการดาเนินงานภายในประเทศสาหรับประเทศไทยมีกรมอาเซียน
กระทรวงการต่างประเทศทาหน้าที่ดังกล่าว
ก่อนจะมาเป็นอาเซียนประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มีการรวมตัวกันมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อเดือนกรกฎาคมพ.ศ.
2504 โดยมีประเทศไทยมาเลเซียและฟิลิปปินส์ร่วมกันก่อตั้ง "สมาคมอาสา (Association of Southeast
Asia)" เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมแต่มีเหตุต้องชะงักไป
ทว่าก็นับเป็นหนึ่งในจุดเริ่มต้นก่อนจะมาเป็นอาเซียนในทุกวันนี้
ลาดับการเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกอาเซียน
พ.ศ. 2510สาธารณรัฐอินโดนิเซียมาเลเซียสาธารณรัฐฟิลิปปินส์สาธารณรัฐสิงคโปร์
และราชอาณาจักรไทยร่วมกันก่อตั้งอาเซียน
พ.ศ.2527บรูไนดารุสซาลามเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่7มกราคม
พ.ศ.2528สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่28กรกฎาคม
พ.ศ.2540สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 23
กรกฎาคม
พ.ศ.2542ราชอาณาจักรกัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่9เมษายน
บทบาทของประเทศไทยในเวทีอาเซียน
ประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในฐานะศูนย์กลางในการเชื่อมโยงประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นับตั้งแต่การก่อตั้งอาเซียนเป้ นต้นมา
- ประเทศไทยคือสถานที่ลงนามปฏิญญาอาเซียนซึ่งถือเป็นการก่อตั้งอาเซียนอย่างเป็นทางการจึงเรียกปฏิญญาอาเซียนว่า
ปฏิญญากรุงเทพฯ(BangkokDeclaration)
- ประเทศไทยเสนอให้อาเซียนจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area: AFTA) เมื่อปี พ.ศ.2535
- ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
(ASEAN RegionalForum:ARF) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2537
- ประเทศไทยเสนอให้มีการจัดทาความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน
ซึ่งมีการลงนามในกรอบความตกลงดังกล่าวเมื่อเดือนธันวาคมพ.ศ.2541
- 4. - ขณะที่เป็นประธานอาเซียนในปี พ.ศ.2551-2552ประเทศไทยได้รับมอบหมายให้วางรากฐานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
ซึ่งสาเร็จลุล่วงด้วยดีโดยมีการลงนามในปฏิญญาชะอา-หัวหิน
ว่าด้วยแผนงานสาหรับประชาคมอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่14เมื่อวันที่ 1 มีนาคมพ.ศ.2552
ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
คนไทยเคยดารงตาแหน่งเลขาธิการอาเซียน2คนคนแรกคือนายแผนวรรณเมธีอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
ดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2527-2529คนที่สองคือดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2551-2555
คานี้น่ารู้เกี่ยวกับอาเซียน
"ปฏิญญา" หมายถึงคาประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันของประเทศสมาชิก
อาเซียนน่ารู้
ผู้แทนทั้งห้าประเทศที่เป็นผู้ลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯประกอบด้วย
1. ไทย-พันเอก(พิเศษ)ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรัว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลถนอมกิตติขจร
2. อินโดนิเซีย-นายอาดัมมาลิครัฐมนตรีฝ่ ายการเมืองและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
3. มาเลเซีย-นายตุนอับดุลราซัคบิน อุสเซนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ
4. ฟิลิปปินส์-นายนาร์ซิโซรามอสรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
5. สิงคโปร์-นายเอส.ราชารัตนัมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ปฏิญญากรุงเทพฯกาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งอาเซียนไว้ 7ประการดังนี้
1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์
และการบริหาร
2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่งคงในภูมิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุรภาพชีวิตที่ดี
5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปขแงการฝึกอบรมและการวิจัยและส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรมการขยายการค้าตลอดตนการปรับปรุงการขนส่งและคมนาคม
7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอกองค์กรความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นและองค์กรระหว่างประเทศ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2514ประเทศสมาชิกได้ลงนามในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียนให้ก่อตั้งสานักงานเลขาธิการอาเซียน(ASEAN
Secretariat) ขึ้นที่กรุงจาการ์ตาประเทศอินโดนิเซียเพื่อเป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างประเทสสมาชิก
ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด10ประเทศ คงเหลือแต่สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-
เลสเตเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคนี่ที่ยังไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกเนื่องจากเป็นประเทศที่เพิ่งเกิดใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2545 มานี้เอง
วันอาเซียน
กาหนดให้เป็นวันที่8 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันอาเซียนเนื่องจากเป็นวันลงนามปฏิญญากรุงเทพเมื่อปี พ.ศ.2510
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของอาเซียนนั่นเอง
เพลงอาเซียน
เพลงอาเซียน(ASEAN Anthem) ซึ่งเป็นเสมือนเพลงชาติของประเทศสมาชิกทั้ง10ประเทศเกิดขึ้นจากการจัดประกวดเมื่อปี
พ.ศ.2551 เปิดให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนที่สนใจส่งเพลงเข้าประกวดโดยมีหลักเกณฑ์5ประการคือ