ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
๶ทคโนโลยีสารสȨทศสมัยใหม่
• ปัจจุบันมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลกได้ คือ จีพีเอส (Global Positioning System: 
GPS) ทำงำนร่วมกับดำวเทียม ในระดับควำมสูง 20,200 กิโลเมตร สำมำรถบอกตำแหน่งได้ทุกแห่งบนโลก โดยควำมแม่นยำ 
ขึ้นอยู่กับจำ นวนดำวเทียมที่จีพีเอสทำงำนร่วมและสภำพอำกำศ 
• ปัจจุบันได้นำระบบนี้มำใช้งำนด้ำนต่ำง ๆ มำกมำย เช่น กำรหำตำแหน่งบนพื้นโลก กำรนำมำสร้ำงเป็นระบบนำทำง 
(Navigator system) กำรใช้ติดตำมบุคคลหรือติดตำมยำนพำหนะ นอกจำกนี้ระบบจีพีเอสยังสำมำรถนำมำใช้อ้ำงอิง 
เพื่อปรับตั้งเวลำให้ถูกต้อง โดยใช้เวลำจำกดำวเทียมทุกดวงซึ่งมีเวลำที่ตรงกัน 
• จีพีเอสนิยมใช้ในรถยนต์เพื่อเป็นระบบนำทำง โดยทำงำนร่วมกับโปรแกรมแผนที่ที่บรรจุอยู่ในตัวเครื่อง ปัจจุบันมีกำรนำระบบ 
จีพีเอสไปติดตั้งในเครื่องพีดีเอ กล้องดิจิทัล และโทรศัพท์เคลอื่นที่ กำรใช้งำนจีพีเอสเพื่อระบุตำ แหน่งบนพื้นโลกจำ เป็นต้อง 
ติดต่อกับดำวเทียมอย่ำงน้อย ๓ ดวง ในกรณีที่ต้องกำรทรำบควำมสูงของตำแหน่งจำกพื้นโลกด้วย ต้องติดต่อกับดำวเทียมอย่ำง 
น้อย ๔ ดวง
• อาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification: RFID) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการ 
อ่านข้อมูล ใช้ในระบบป้องกันการขโมยสินค้า ระบบอ่านบัตรประจา ตัวพนักงาน ระบบเก็บค่าผ่านทาง 
โครงสร้างของระบบประกอบด้วย ๒ ส่วนย่อย คือ ทรานสปอนเดอร์(Transponder) และเครื่องอ่าน 
(Reader) 
• ประโยชน์ของอาร์เอฟไอดี 
• ๑) สามารถอ่านทรานสปอนเดอร์พร้อมกันได้หลายชิ้นและใช้เวลารวดเร็ว 
• ๒) ทนทานต่อความเปียนชื้น 
• ๓) มีความปลอดภัยสูง ยากต่อการปลอมแปลงและเลียนแบบ 
• ๔) ป้องกันการอ่านข้อมูลซ้า ของวัตถุชิ้นเดียวกัน 
• ๕) สามารถอ่านข้อมูลได้โดยไม่จา เป็นต้องมองเห็นตัวทรานสปอนเดอร์
• ปัจจุบันระบบไร้สายได้รับความนิยมอย่างมาก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบจีเอสเอ็ม (Global System for Mobile 
Communication: GSM) เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีตั้งแต่ยุคที่ ๒ (2G) และยุคที่ ๓ (3G) 
• 2G มีการบีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิทัล การรับ-ส่งข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพมากนัก 
• 2.5G นา ระบบจีพีอาร์เอส (General Packet Radio Service: GPRS) มาใช้ร่วมกับระบบจีเอสเอ็ม ทา ให้สามารถ 
รับ ส่งข้อมูและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ 
• เทคโนโลยีจีพีอาร์เอสนี้สามารถสื่อสารข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 171.2 กิโลบิตต่อวินาที ต่อมาได้มีการปรับปรุงระบบจีพีอาร์ 
เอสให้มีความเร็วในการสื่อสารสูงขึ้นถึง 384 กิโลบิตต่อวินาที เทคโนโลยีนี้ชื่อว่า เอจ (Enhanced Data Rates for 
Global Evolution: EDGE) ซึ่งจัดอยู่ในยุค 2.75G 
• 3G ทา งานในระบบซีดีเอ็มเอ (Code Division Multiple Access: CDMA) อัตราเร็วในการรับส่งข้อมูล 
(transmission rate) ไม่ต่า กว่า 2 เมกะบิตต่อวินาที สามารถใช้งานมัลติมีเดียความเร็วสูงได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การรับชม 
วีดิทัศน์จากอินเทอร์เน็ต การสนทนาแบบเห็นภาพคู่สนทนา จึงมีการพัฒนาบริการต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย เช่น การให้บริการแบบ 
มัลติมีเดียที่สามารถรับส่งข้อมูลขนาดใหญ่ การประชุมทางไกลผ่านหน้าจอของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
• 4G ทา ให้การส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงกว่า 3G มีการให้บริการที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น อัตรา 
ในการส่งข้อมูลไม่ต่า กว่า 100 เมกะบิตต่อวินาที
• การประมวลผลภาพ (image processing) เป็นการนาภาพมาเปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิทัล เช่น 
• – ระบบตรวจกระดาษคา ตอบ 
• – ระบบตรวจจับใบหน้าในกล้องดิจิทัล 
• – ระบบอ่านบาร์โค้ด 
• – ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อการรักษาความปลอดภัย
• เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ เป็นการนา ภาพ ๒ มิติมาแสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทา 
ให้ตาข้างซ้ายและตาข้างขวามองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ 
สมองตีความเป็นภาพที่มีความลึก ตัวอย่างเทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ มีดังนี้ 
• - การแสดงภาพแบบแอนะกลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาที่มี 
โทนสีที่แตกต่างกันลงบนฉากรับภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะเป็นสีแดงและน้า เงิน การมอง 
ด้วยตาเปล่าจะทา ให้เห็นเป็นภาพซ้อนและเหลื่อมกันเล็กน้อย การมองภาพ ๓มิติ ต้องใช้แว่นที่มี 
แผ่นกรองแสงด้านหน้าที่มีข้างหนึ่งเป็นสีแดงและอีกข้างหนึ่งเป็นสีน้า เงิน
• รับข้อมูลโดยใช้นิ้วสัมผัสที่จอภาพโดยตรง เรียกว่า จอสัมผัส (touch 
screen) ทา ให้การใช้งานมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้โดยตรง เช่น จอสัมผัสตู้เอทีเอ็ม 
จอสัมผัสแสดงข้อมูลร้านค้าในห้างสรรพสินค้า จอสัมผัสเครื่องจีพเีอส จอสัมผัส 
เครื่องพีดีเอ จอสัมผัสสมาร์ทโฟน จอสัมผัสเหล่านี้สั่งการโดยใช้สไตลัส 
(Stylus) หรือนิ้วสัมผัสบนจอ การสั่งการที่สัมผัสจอภาพทีละจุด เรียกว่าซิง 
เกิลทัช (Single touch)

More Related Content

๶ทคโนโลยีสารสȨทศสมัยใหม่

  • 2. • ปัจจุบันมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลกได้ คือ จีพีเอส (Global Positioning System: GPS) ทำงำนร่วมกับดำวเทียม ในระดับควำมสูง 20,200 กิโลเมตร สำมำรถบอกตำแหน่งได้ทุกแห่งบนโลก โดยควำมแม่นยำ ขึ้นอยู่กับจำ นวนดำวเทียมที่จีพีเอสทำงำนร่วมและสภำพอำกำศ • ปัจจุบันได้นำระบบนี้มำใช้งำนด้ำนต่ำง ๆ มำกมำย เช่น กำรหำตำแหน่งบนพื้นโลก กำรนำมำสร้ำงเป็นระบบนำทำง (Navigator system) กำรใช้ติดตำมบุคคลหรือติดตำมยำนพำหนะ นอกจำกนี้ระบบจีพีเอสยังสำมำรถนำมำใช้อ้ำงอิง เพื่อปรับตั้งเวลำให้ถูกต้อง โดยใช้เวลำจำกดำวเทียมทุกดวงซึ่งมีเวลำที่ตรงกัน • จีพีเอสนิยมใช้ในรถยนต์เพื่อเป็นระบบนำทำง โดยทำงำนร่วมกับโปรแกรมแผนที่ที่บรรจุอยู่ในตัวเครื่อง ปัจจุบันมีกำรนำระบบ จีพีเอสไปติดตั้งในเครื่องพีดีเอ กล้องดิจิทัล และโทรศัพท์เคลอื่นที่ กำรใช้งำนจีพีเอสเพื่อระบุตำ แหน่งบนพื้นโลกจำ เป็นต้อง ติดต่อกับดำวเทียมอย่ำงน้อย ๓ ดวง ในกรณีที่ต้องกำรทรำบควำมสูงของตำแหน่งจำกพื้นโลกด้วย ต้องติดต่อกับดำวเทียมอย่ำง น้อย ๔ ดวง
  • 3. • อาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification: RFID) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการ อ่านข้อมูล ใช้ในระบบป้องกันการขโมยสินค้า ระบบอ่านบัตรประจา ตัวพนักงาน ระบบเก็บค่าผ่านทาง โครงสร้างของระบบประกอบด้วย ๒ ส่วนย่อย คือ ทรานสปอนเดอร์(Transponder) และเครื่องอ่าน (Reader) • ประโยชน์ของอาร์เอฟไอดี • ๑) สามารถอ่านทรานสปอนเดอร์พร้อมกันได้หลายชิ้นและใช้เวลารวดเร็ว • ๒) ทนทานต่อความเปียนชื้น • ๓) มีความปลอดภัยสูง ยากต่อการปลอมแปลงและเลียนแบบ • ๔) ป้องกันการอ่านข้อมูลซ้า ของวัตถุชิ้นเดียวกัน • ๕) สามารถอ่านข้อมูลได้โดยไม่จา เป็นต้องมองเห็นตัวทรานสปอนเดอร์
  • 4. • ปัจจุบันระบบไร้สายได้รับความนิยมอย่างมาก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบจีเอสเอ็ม (Global System for Mobile Communication: GSM) เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีตั้งแต่ยุคที่ ๒ (2G) และยุคที่ ๓ (3G) • 2G มีการบีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิทัล การรับ-ส่งข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพมากนัก • 2.5G นา ระบบจีพีอาร์เอส (General Packet Radio Service: GPRS) มาใช้ร่วมกับระบบจีเอสเอ็ม ทา ให้สามารถ รับ ส่งข้อมูและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ • เทคโนโลยีจีพีอาร์เอสนี้สามารถสื่อสารข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 171.2 กิโลบิตต่อวินาที ต่อมาได้มีการปรับปรุงระบบจีพีอาร์ เอสให้มีความเร็วในการสื่อสารสูงขึ้นถึง 384 กิโลบิตต่อวินาที เทคโนโลยีนี้ชื่อว่า เอจ (Enhanced Data Rates for Global Evolution: EDGE) ซึ่งจัดอยู่ในยุค 2.75G • 3G ทา งานในระบบซีดีเอ็มเอ (Code Division Multiple Access: CDMA) อัตราเร็วในการรับส่งข้อมูล (transmission rate) ไม่ต่า กว่า 2 เมกะบิตต่อวินาที สามารถใช้งานมัลติมีเดียความเร็วสูงได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การรับชม วีดิทัศน์จากอินเทอร์เน็ต การสนทนาแบบเห็นภาพคู่สนทนา จึงมีการพัฒนาบริการต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย เช่น การให้บริการแบบ มัลติมีเดียที่สามารถรับส่งข้อมูลขนาดใหญ่ การประชุมทางไกลผ่านหน้าจอของโทรศัพท์เคลื่อนที่ • 4G ทา ให้การส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงกว่า 3G มีการให้บริการที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น อัตรา ในการส่งข้อมูลไม่ต่า กว่า 100 เมกะบิตต่อวินาที
  • 5. • การประมวลผลภาพ (image processing) เป็นการนาภาพมาเปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิทัล เช่น • – ระบบตรวจกระดาษคา ตอบ • – ระบบตรวจจับใบหน้าในกล้องดิจิทัล • – ระบบอ่านบาร์โค้ด • – ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อการรักษาความปลอดภัย
  • 6. • เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ เป็นการนา ภาพ ๒ มิติมาแสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทา ให้ตาข้างซ้ายและตาข้างขวามองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ สมองตีความเป็นภาพที่มีความลึก ตัวอย่างเทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ มีดังนี้ • - การแสดงภาพแบบแอนะกลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาที่มี โทนสีที่แตกต่างกันลงบนฉากรับภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะเป็นสีแดงและน้า เงิน การมอง ด้วยตาเปล่าจะทา ให้เห็นเป็นภาพซ้อนและเหลื่อมกันเล็กน้อย การมองภาพ ๓มิติ ต้องใช้แว่นที่มี แผ่นกรองแสงด้านหน้าที่มีข้างหนึ่งเป็นสีแดงและอีกข้างหนึ่งเป็นสีน้า เงิน
  • 7. • รับข้อมูลโดยใช้นิ้วสัมผัสที่จอภาพโดยตรง เรียกว่า จอสัมผัส (touch screen) ทา ให้การใช้งานมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้โดยตรง เช่น จอสัมผัสตู้เอทีเอ็ม จอสัมผัสแสดงข้อมูลร้านค้าในห้างสรรพสินค้า จอสัมผัสเครื่องจีพเีอส จอสัมผัส เครื่องพีดีเอ จอสัมผัสสมาร์ทโฟน จอสัมผัสเหล่านี้สั่งการโดยใช้สไตลัส (Stylus) หรือนิ้วสัมผัสบนจอ การสั่งการที่สัมผัสจอภาพทีละจุด เรียกว่าซิง เกิลทัช (Single touch)