ݺߣ
Submit Search
ใหม่การพัฒȨชีวิตและสังคม
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
255 views
O
Oh Whoop
Follow
รายวิชาการพัոาคุณภาพชีวิตและสังคม
Read less
Read more
1 of 26
Download now
Download to read offline
More Related Content
ใหม่การพัฒȨชีวิตและสังคม
1.
บทที่ 3 กลยุทธ์การบริหารตนเอง
2.
สมาชิกทั้งหมด 6 คน 1.
นางสาวธัญลักษณ์ นารีจันทร์ 063-7 2. นางสาวเนริสา เสาร์เมืองทอง 064-7 3. นางสาวนันทวดี สุนทร 065-7 4. นางสาวหนึ่งฤทัย ชาติบุบผา 067-7 5. นางสาวภัทรวดี บุตรวงศ์ 068-7 BIS 1 / 1 N
3.
หลักการและเทคนิคการบริหารตนเอง 1
4.
1. การวางแผน (Planning)
หมายถึง กระบวนการในการกาหนดเป้าหมาย แผนงาน และตัดสินใจหา วิธีการที่ดีที่สุดที่ทาให้เป้าหมายนั้นบรรลุผลสาเร็จ 2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง กระบวนการในการจัดตั้งและจัดวางทรัพยากรบุคคล และ ทรัพยากรที่ไม่ใช่บุคคล โดยวางแผนให้สามารถบรรลุผลสาเร็จขององค์การ
5.
3. การนาและสั่งการ (Leading
and Directing) หมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพล เหนือบุคคลอื่นในการที่จะให้บุคคลอื่นมีพฤติกรรมในการทางานที่ต้องการ และทาให้บรรลุ เป้าหมายขององค์การ 4. การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการในการกาหนดกิจกรรมต่างๆ ขององค์การ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป้าหมายที่องค์การคาดหวัง และกาหนดไว้
6.
เทคนิคการปรับตัวเพื่อที่จะมีสุขภาพจิตที่ดี 1. พยายามเข้าใจตนเอง คุณลักษณะโดยทั่วไปของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดีและมีการปรับตัวที่ถูกต้องคือผู้ที่กล้าเผชิญ ความจริงเกี่ยวกับตนเอง ไม่หลอกตัวเอง
เขาเป็นผู้ที่ยอมรับและมีความอดทนต่อความวิตกกังกล ความกระวนกระวายใจ โดยเขายอมรับว่าความวิตกกังวล ความกลัว เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
7.
หากเรากล้าเผชิญความจริงข้อนี้ได้ เราก็จะมีความมั่นคงในจิตใจและสามารถแก้ปัญหาและตัดสินใจด้วย ตนเองได้ ซึ่งต้องพยายามเลี่ยงการใช้กลวิธานในการป้องกันตนเองและพยายามเข้าใจความต้องการของ ตน
ดังนี้คือ 1.1 พยายามเลี่ยงการใช้กลวิธานในการป้องกันตนเองอย่าใช้มากจนเกินไป ตัวอย่างเช่น นักศึกษาที่เริ่มต้นบ่นอาจารย์ผู้สอนในการที่ตนได้คะแนนไม่ดีนัก ในที่สุดมักจะรู้สึก ว่าตนก็กาลังใช้ เหตุผลซึ่งก็เป็นกลวิธานในการป้องกันตนอีกชนิดหนึ่งแต่โดยสภาพความจริงถ้านักศึกษาผู้นั้นเข้าเรียน สม่าเสมอ พยายามทาความเข้าใจในเนื้อหา ส่งรายงานอยู่เสมอก็คงไม่ถึงกับได้คะแนนไม่ดี ดังนี้เป็นต้น
8.
1.2 เข้าใจความต้องการของตนเอง จุดมุ่งหมายของตนเรา
เราต้องรู้ว่าตัวเราเป็นอย่างไรเช่น นักศึกษาที่บ่นอาจารย์ผู้สอนในการที่ตน ได้คะแนนไม่ดี หากนักศึกษาผู้นั้นหันมาถามตนเองว่า“เราต้องการอะไรแน่” เขาก็จะต้องยอมรับกับตนเองว่าคาตอบก็คือต้องการได้ คะแนนดีโดยที่ไม่ต้องเข้าชั้นเรียนหนังสือซึ่งเป็นไปไม่ได้
9.
2. เข้าใจจุดมุ่งหมายและเข้าใจความต้องการ การเข้าใจจุดมุ่งหมายและเข้าใจความต้องการของตนเองเป็นของดีที่คนเราจะมีจุดมุ่งหมาย ในชีวิต เช่น
ต้องการเป็นแพทย์ วิศวกร เภสัชกร นักส่งเสริมการเกษตร มีอาชีพอิสระ ทาธุรกิจ ฟาร์มโค นม เหล่านี้ล้วนเป็นจุดมุ่งหมายทั้งนั้น แต่จุดมุ่งหมายไม่ใช่ของตายตัวที่อะลุ้มอล่วย ยืดหยุ่นกันไม่ได้เลย การตั้งจุดมุ่งหมายที่สูงเกินระดับความสามารถของเรามากนัก มักก่อให้เกิดความคับข้องใจ ความวิตก กังวลอยู่เสมอ การปรับจุดมุ่งหมายให้พอดีกับระดับที่เราสามารถทาให้สาเร็จจะขจัดความคับข้องใจโดย ไม่จาเป็นให้หมดไปได้ ซึ่งมีวิธีการดังต่อไปนี้
10.
2.1 การลดสภาพความขัดแย้งทางจิตใจและความคับข้องใจ 2.2 ฝึกทาใจให้มีสมาธิ
ไม่ยึดติด ยืดหยุ่น รู้จักให้อภัย ไม่อิจฉาริษยา ไม่มุ่งร้าย ซึ่งจะทาให้จิตใจเศร้าหมองขาดความสุข ในการดาเนินชีวิต 2.3 ฝึกคิดในทางที่ดี คิดในทางบวก คิดตลกๆ เช่น คิดว่าเออดีคิดได้อย่างไร เป็นแนวคิดที่แปลกอีกแบบหนึ่ง คิดได้ไง บาง ที่เอาสิ่งที่เครียดๆ มาคิดสนุกๆ ความทุกข์ก็ลดลงได้
11.
2.4 ลดจุดมุ่งหมายในชีวิตลงบ้าง บางคนตั้งเป้าหมายของชีวิตไว้สูงเกิน
บางทีทางที่จะไป ให้ถึงดวงดาวอาจไปไม่ได้ทุกคน แต่เมื่อเราไม่สามารถไปให้ถึงตามความต้องการที่เรามุ่งหวัง เราก็ลด เป้าหมายตัวเราเองลงได้ สารวจตนเองว่าเราชอบอะไร เราทาอะไรได้ ชีวิตก็มีความสุขขึ้นลักษณะ ของคนที่มีสุขภาพจิตดีและสามารถปรับตนเองได้
12.
ธรรมะในการบริหารตนเองเพื่อสร้างคุณภาพชีวิต 2
13.
ความสาคัญของธรรมะในการบริหารตนเอง มนุษย์เราจะมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยปราศจากหลักธรรมหรือคุณธรรมย่อม ไม่ได้ เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคมจะต้องกินและต้องบริโภค
การทามาหากินของมนุษย์นั้นเป็นการ แสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเอง ประกอบกับธาตุแท้ของมนุษย์นั้นมักง่ายเห็นแก่ตัว ชอบเอารัดเอา เปรียบผู้อื่นหากมนุษย์ขาดหลักธรรมหรือคุณธรรมประจาใจแล้ว
14.
ลักษณะชีวิตที่มีคุณภาพ เพื่อให้การบริหารตนเองมีเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ชัดเจนและสมบูรณ์ เราควรทาความเข้าใจใน เบื้องต้นก่อนว่า ชีวิตของคนที่ดีมีคุณภาพนั้นควรเป็นอย่างไร
โดยทั่วไปแล้วชีวิตที่ดีมีคุณภาพควรจะดู จากสิ่งต่อไปนี้ 1. การมีสุขภาพกายที่ดี 2. การมีสุขภาพจิตดี 3. การมีความรู้ความสามารถเฉพาะตน 4. เป็นผู้ทรงคุณธรรม 5. บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์
15.
หลักธรรมที่จะนามาใช้ในการบริหารตนเอง มีดังนี้ ฉันทะ แปลว่า
ความพอใจ และถ้าจะให้เข้าใจง่ายต้องแปลว่า ความรักงาน หรือเต็มใจทา เมื่อคนเรามีความรักงานเราก็ย่อมทุ่มเททุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่ วิริยะ คือ ความเพียรพยายามหรือแข็งใจทา ซึ่งไม่ได้หมายความว่าฝืนใจทาแบบซังกะตาย แต่หมายถึงท่านทางานด้วยความเข้มแข็ง กล้าสู้ไม่ว่างาน จะลาบาก มากมายเพียงใด พยายามทาเต็มที่ โดยไม่คานึงถึงความเหนื่อยยาก จิตตะ คือ ตั้งใจทา หมายถึง คิดถึงงานที่ได้ลงมือทาไว้แล้วตลอดเวลา เราใจจดจ่อที่งานนั้น ไม่ทิ้งงานพยายามหาทางปรับปรุงให้งานก้าวหน้าขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ว่างานจะใหญ่ จะยาก จะมากแค่ไหน ก็ สาเร็จลงได้ง่ายเพราะใจสู้งาน
16.
วิมังสา เข้าใจทานั่นคือทางานด้วยการใช้ปัญญา ทางานอย่างฉลาด
คนเราถึงจะรักงานเพียงใด พากเพียร เพียงใด เอาใจจดจ่ออยู่กับงานเพียงใด ถ้าขาดปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ แทนที่งานจะสาเร็จ อาจไม่สาเร็จตามที่มุ่งหวัง ดังนั้น ผู้ ที่จะประสบความสาเร็จในการทางาน ไม่ว่าจะเป็นงานใด ๆ ก็ตามจะต้องประกอบด้วย พอใจทา แข็งใจทา ตั้งใจทา และเข้าใจทา หรือ ฉลาดทา
17.
นาหลักธรรมไปปฏิบัติเพื่อการบริหารตนเองในชีวิตประจาวัน 1. มองโลกในแง่ดี เพราะมุมมองที่บุคคลจะมองวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมมีทั้งด้านดีและด้านร้าย จงฝึกที่จะมองแต่เฉพาะด้านดีด้านร้ายหัดละทิ้งบ้าง
จะเป็นการลดความเครียด และจะทาให้เราเกิด ความรู้สึกที่ดี ยอมรับสิ่งต่าง ๆ ให้มากขึ้นชีวิตจะมีความสุขมากขึ้นตามไปด้วย 2. รู้จักให้ ให้ในที่นี้หมายถึง ให้อภัย ให้ความเมตตากรุณา คนเราถ้ารักแต่ตัวเองจะไม่รู้จัก ให้ใคร จะมีแต่ความเครียดแค้นชิงชังอาฆาต พยาบาทจองเวรในเมื่อไม่ได้ดังใจ ถ้าเราพิจารณากันอย่าง รอบคอบและทาใจได้ จะพบว่าเรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมากมายในสังคมปัจจุบันสามารถจะให้อภัยต่อกัน ได้
18.
3. รู้คุณค่าในตัวเอง ก่อนที่เราจะยอมรับความเด่นความดีของคนอื่น
เราต้องรู้จักหา มุมมองที่ดีของตัวเราเองด้วย มิฉะนั้นความรู้สึกต่าต้อยจะเป็นปมด้อย ทาให้บุคคลขาดความ เชื่อมั่น การงานต่าง ๆ ที่จะทาจะไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร ลองหาจุดเด่นของตนเองที่คนอื่น ๆ ก็ ยอมรับ
19.
การพัฒนาตนเอง 3
20.
การพัฒนา หมายถึง การสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าจนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น องค์ประกอบของการพัฒนาตนเองมี
2 ลักษณะ คือ 1. ด้านพฤติกรรม (ภายใน) หมายถึง การพัฒนาจิตใจ เพื่อให้บุคคลมีความเจริญด้วยศีล สมาธิ และปัญญาจะได้นาปัญญาไปใช้ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านอื่น ๆ ต่อไป อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นธรรม 2. ด้านสิ่งแวดล้อม (ภายนอก) หมายถึง การพัฒนาด้านทักษะความสัมพันธ์กับภายนอก เช่น การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา การประสานงาน การมีมนุษย์สัมพันธ์ แรงจูงใจ
21.
ขั้นตอนหรือวิธีการมองตน เพื่อการพัฒนาตนเอง มีดังนี้ 1.
ทุกครั้งที่ทาอะไรผิดพลาด ล้มเหลวหรือพ่ายแพ้ต่อชีวิต ก่อนอื่น ขอให้หันเข้ามองตนเอง และตรวจสอบความบกพร่องของตนเอง 2. จงหมั่นสารวจตนเองเป็นครั้งคราว อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง แล้วดูว่าตนเองพัฒนา ตนเองไปได้เพียงใด
22.
3. ในการมองตนเองที่ดี นั่นคือ
การสารวจอุปนิสัยที่ดีและไม่ดีของตนเอง จงทาเป็นตาราง สองช่อง เขียนอุปนิสัย บุคลิกลักษณะและความสามารถของตนแล้ว เปรียบเทียบดูว่าระหว่างนิสัยที่ดีกับ ไม่ดี สิ่งไหนมากกว่ากัน 4. จงมีเศษกระดาษเล็ก ๆ สักแผ่นหนึ่งก่อนนอนเขียนกิจที่ต้องทาหรือพึงทา เรียงลาดับตาม ความสาคัญ แล้ววันต่อมาดูว่า เราทาได้หมดในวันนั้นหรือไม่ และในเศษกระดาษแผ่นนี้เขียนด้วยว่า เรา มีอุปนิสัยที่อยากจะแก้ไขอะไรบ้าง
23.
หลักการมองโลกในแง่ดี 1. พยายามฝึกจิตให้เข้มแข็ง เพื่อรับแรงของความทุกข์ได้ทุกรูปแบบ 2.
พยายามหาเรื่องของความสุขสนุกสนานมาพูดคุยสังสรรค์กับคนรอบข้า 3. พยายามทาให้เพื่อฝูงหรือผู้ที่เราติดต่อคบหาด้วยรู้สึกว่า เขาเป็นคนมีค่ามีความสาคัญในตัวเองที่ คนอื่นควรยอมรับนับถือ
24.
4. พยายามทางานให้ดีที่สุด สร้างความหวังไปในทางที่ดี 5.
จงยินดีและกระตือรือร้นต่อความสาเร็จของผู้อื่น (ไม่อิจฉาริษยาให้เกิดทุกข์ในใจตน) และเอา เยี่ยงอย่างเพื่อตนจะได้ประสบความสาเร็จบ้าง
25.
การฝึกฝน อบรม ใฝ่ความรู้ การฝึกฝน
อบรม ใฝ่หาความรู้ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตนเองอย่างไร ตอบได้ว่า ลาพังการ พัฒนาความรู้ด้วยตนเองอย่างเดียวก็ไม่พอ เราต้องขวนขวายหาความรู้และทักษะ ประสบการณ์เพิ่มเติม โดยการฝึกอบรมอีกด้วย เราจึงจะพัฒนาการทางาน และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองมากยิ่งขึ้น คนใดก็ ตามที่เคยผ่านการฝึกอบรมมา เขาจะเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้นในการทางาน
26.
จบการ นาเสนอ!
Download