ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แนวྺ้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา 
กับการเมืองการปกครอง 
• โจทย์แนวྺ้อสอบ มีดังนี้ 
• 1.พระพุทธศาสȨกับการส่งเสริมประชาธิปไตย 
• 2.พระพุทธศาสȨกับการ๶สริมสร้างสันติภาพ 
• 3.พระพุทธศาสȨกับการส่งเสริมความสามัคคี 
• 4.พระพุทธศาสȨกับการขัึϹย้ง
1.พระพุทธศาสȨกับการส่งเสริมประชาธิปไตย
หลักประชาธิปไตยทั่วไปในพระพุทธศาสนา 
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาตั้งแต่เริ่มแรก ก่อนที่ 
พระพุทธเจ้าจะทรงมอบให้พระสงฆ์เป็นใหญ่ในกิจการทั้งปวงเสีย 
อีกลักษณะที่เป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนามีตัวอย่าง 
ดังต่อไปนี้ 
1. พระพุทธศาสนามีพระธรรมวินัยเป็นธรรมนูญหรือกฎหมาย 
สูงสุด พระธรรม คือ คาสอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง พระวินัยคือ 
คา สั่งอันเป็นข้อปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นเมื่อรวมกัน 
เรียกว่า พระธรรมวินัย ซึ่งมีความสาคัญขนาดที่พระพุทธเจ้าทรง 
มอบให้เป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ก่อนที่พระองค์จะปรินิพพาน 
เพียงเล็กน้อย
2. มีการกา หนดลักษณะของศาสนาไว้เรียบร้อย ไม่ปล่อยให้เป็นไป 
ตามยถากรรม ลักษณะของพระพุทธศาสนาคือสายกลาง ไม่ซ้ายสุด 
ไม่ขวาสุด ทางสายกลางนี้เป็นครรลอง อาจปฏิบัติค่อนข้างเคร่งครัด 
ก็ได้ โดยใช้สิทธิในการแสวงหาอดิเรกลาภตามที่ทรงอนุญาตไว้ ใน 
สมัยต่อมา เรียกแนวกลางๆ ของพระพุทธศาสนาว่า วิภัชชวาทีคือ 
ศาสนาที่กล่าวจา แนกแจกแจง ตามความเป็นจริงบางอย่างกล่าว 
ยืนยันโดยส่วนเดียวได้ บางอย่างกล่าวจา แนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ 
ไป
3. พระพุทธศาสนา มีความเสมอภาคภายใต้พระธรรมวินัย 
บุคคลที่เป็นวรรณะกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรมาแต่เดิม 
รวมทั้งคนวรรณะต่า กว่านั้น เช่นพวกจัณฑาล พวกปุกกุสะคน 
เ ก็บ ข ย ะ แ ล ะ พ ว ก ท า ส เ มื่อ เ ข้า ม า อุป ส ม บ ท ใ น 
พระพุทธศาสนาอย่างถูกต้องแล้ว มีความเท่าเทียมกัน คือ 
ปฏิบัติตามสิกขาบทเท่ากัน และเคารพกันตามลาดับอาวุโส 
คือผู้อุปสมบทภายหลังเคารพผู้อุปสมบทก่อน
4. พระภิกษุในพระพุทธศาสนา มีสิทธิ เสรีภาพภายใต้พระ 
ธรรมวินัย เช่นในฐานะภิกษุเจ้าถิ่น จะมีสิทธิได้รับของแจก 
ก่อนภิกษุอาคันตุกะ ภิกษุที่จา พรรษาอยู่ด้วยกันมีสิทธิได้รับ 
ของแจกตามลาดับพรรษา มีสิทธิรับกฐิน และได้รับอานิสงส์ 
กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเท่าเทียมกัน 
นอกจากนั้นยังมีเสรีภาพที่จะเดินทางไปไหนมาไหนได้ จะอยู่ 
จา พรรษาวัดใดก็ได้เลือกปฏิบัติกรรมฐานข้อใด ถือธุดงควัตร 
ข้อใดก็ได้ทั้งสิ้น
5. มีการแบ่งอา นาจ พระเถระผู้ใหญ่ทา หน้าที่บริหารปกครอง 
หมู่คณะ การบัญญัติพระวินัย พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเอง 
เช่นมีภิกษุผู้ทาผิดมาสอบสวนแล้วจึงทรงบัญญัติพระวินัย 
ส่วนการตัดสินคดีตามพระวินัยทรงบัญญัติแล้วเป็นหน้าที่ 
ของพระวินัยธรรมซึ่งเท่ากับศาล 
6. พระพุทธศาสนามีหลักเสียงข้างมาก คือ ใช้เสียงข้างมาก 
เป็นเกณฑ์ตัดสิน เรียกว่า วิธีเยภุยยสิกา การตัดสินโดยใช้เสียง 
ข้างมาก ฝ่ายใดได้รับเสียงข้างมากสนับสนุน ฝ่ายนั้นเป็นฝ่าย 
ชนะคดี
2.พระพุทธศาสȨกับการ๶สริมสร้างสันติภาพ
• หัวใจของพระพุทธศาสนาคือสันติภาพภายในตัวของมนุษย์ถ้า 
เรามีสันติหรือความสงบในหัวใจ เราก็สามารถต่อสู้กับปัญหา 
ภายนอกได้ ด้วยความสุขุมรอบคอบและด้วยปัญญา เราจะเป็น 
คนที่ยิ้มสู้ปัญหา พระพุทธศาสนาสอนให้เรารักกัน มีความ 
เมตตากรุณาต่อกัน มีความอดทน ไม่เบียดเบียนกัน และคา สอน 
ที่สา คัญที่ทา ให้เรามีสันติภาพภายในหคือหลักของอิทัปปจยตาที่ 
สอนว่า “สรรพสิ่งอิงอาศัยกันและกันตามเหตุปัจจัยปรุงแต่ง
จะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสนามุ่งเน้นสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขแต่การ 
จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขนั้นสมาชิกของสังคมจะต้องร่วมกันให้เกิดการ 
ปกครองที่ดี ดังคากล่าวของพระธรรมปิฏกที่ว่า สมาชิกของรัฐผู้มีส่วน 
ร่วมให้เกิดการปกครองที่ดี โดยเฉพาะคนในสังคมประชาธิปไตย พึงรู้ 
หลักปฏิบัติดังนี้ 
รู้หลักอธิปไตย คือ รู้หลักความเป็นใหญ่ที่เรียกว่า อธิปไตย 3 ประการ 
ดังนี้ 
1. อัตตาธิปไตย ถือตนเป็นใหญ่ คือ ถือเอาตนเอง ฐานะ ศักด์ิศรี เกียรติภูมิ 
ของตนเป็นใหญ่ ฝ่ายที่เป็นกุศลในด้านนี้คือ การเว้นจากการทา ความชั่ว 
มุ่งทา ความดีด้วยการเคารพตนเอง 
2. โลกาธิปไตย ถือโลกเป็นใหญ่ คือ ถือความนิยมของชาวดลกเป็นใหญ่ 
หวั่นไหวไปตามเสียงนินทา สรรเสริญ เป็นต้น ฝ่ายที่เป็นกุศลได้แก่ เว้น 
จากการทา ชั่ว มุ่งทา ความดีด้วยการเคารพเสียงของชนหมู่มาก
• 3. ธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่ คือ ถือหลักการ ความจริง 
ความถูกต้อง ความดีงาม เหตุผลเป็นใหญ่ กระทาด้วยการคานึงถึง 
สิ่งที่ได้ศึกษา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง และยอมรับฟังความคิดเห็น 
ของผู้อื่น การรู้จักพิจารณาอย่างถ่องแท้ ตามกา ลังสติปัญญา และมุ่ง 
คิดพิจารณาด้วยความบริสุทธ์ิใจ เป็นไปโดยชอบธรรม และเพื่อ 
ความดีงาม ตามหลักโดยทั่วไปได้แก่ การรู้จักเคารพหลักการ กฎ 
ระเบียบ กติกา และข้อบังคับทางสังคมหรือองค์กรนั้น ๆ ดังนั้น 
หากเราต้องการถือเอาความถูกต้องเป็นใหญ่ จะต้องยึดหลักของ 
ธรรมาธิปไตย โดยมิได้ถือตนหรือถือโลกเป็นใหญ่
สาราณียธรรม หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง หมายถึง มีความ 
ปรารถนาดีต่อกัน เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ดังนี้ 
1. เมตตากายกรรม ได้แก่ การเข้าไปตั้งกายกรรมประกอบด้วย เมตตา นั่นคือ 
การอยู่ด้วยกันด้วยการกระทา ดีต่อกัน ไม่เบียดเบียนทา ร้ายกัน ไม่ก่อสงคราม 
แต่มุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือกัน เพื่อความผาสุขของมวลมนุษย์ เป็นต้น 
2. เมตตาวจีกรรม ได้แก่ การเข้าไปตั้งวจีกรรมประกอบด้วยเมตตา คือใช้ 
หลักการทูต โดยการเจรจาให้เข้าใจกัน ไม่กล่าวร้ายเสียดสีกัน เป็นต้น 
3. เมตตามโนธรรม ได้แก่ การเข้าไปตั้งมโนกรรมประกอบด้วยเมตตา คือการ 
ไม่คิดทา ร้ายซึ่งกันและกัน มีความซื่อสัตย์เคารพในความคิดเห็นซึ่งกันและ 
กัน มีจิตเมตตาต่อกัน เป็นต้น
4. แบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้มาด้วยความชอบธรรมแก่เพื่อนมนุษย์ ได้แก่ การ 
แบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งในด้านอาหาร เครื่องอุปโภคบริโภค 
เครื่องมือการเกษตร ตลอดจนวิทยาการความรู้ต่างๆให้แก่เพื่อนมนุษย์รวม 
ตลอดถึงการรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน ไม่ทาลายระบบนิเวศน์ 
สิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบมวลมนุษย์ เป็นต้น 
5. รักษาความประพฤติ(ศีล) เสมอกัน ได้แก่ การดาเนินนโยบายต่าง ๆ ต้อง 
เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับมติสากลหรือหลักการขององค์การ 
สหประชาชาติหรือองค์การระหว่างประเทศไม่ฝ่าฝืนมติหรือหลักการนั้นอัน 
จะก่อให้เกิดความหวาดระแวง ไม่ไว้เนื้อเนื้อเชื่อใจกัน 
6. มีความเห็นร่วมกัน ไม่วิวาทเพราะมีความเห็นผิดกัน ได้แก่ การอยู่ร่วมกัน 
จะต้องยอมรับในกฎกติกาทางสังคมที่กา หนดไว้ ไม่กระทา ตนเสมือนว่าเป็น 
การฝ่าฝืนมติของสังคมโลก ไม่เอารัดเอาเปรียบกันหรือข่มเหงกีดกันผู้อื่น มี 
แต่จะสร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและสังคมที่ตนอาศัยอยู่ด้วย
• หลักสังคหวัตถุ 4 
• สังคหวัตถุ 4 แปลว่า เครื่องยึดเหนี่ยว มีความหมายว่า 
คุณธรรมเหล่านี้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้า ใจของผู้อื่นไว้ได้ 
คือ เป็นเครื่องก่อให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวสนิทสนม 
ยิ่ง ๆ ขึ้นและผูกพันให้มั่นคงตลอดไป 
• หลักสังคหวัตถุ 4 มีดังต่อไปนี้ 
• 1.ทาน แปลว่า การให้ หมายถึง การแบ่งให้ เฉลี่ยให้ปันให้ 
เพื่อแสดงอัธยาศัยไมตรี ผูกสามัคคีกันไว้
• 2. ปิยวาจา แปลว่า เจรจาอ่อนหวาน หมายถึง พูดคาที่สุภาพ 
อ่อนโยนและเป็นคาที่มีประโยชน์ที่ผู้ฟังได้ฟังแล้วชื่นใจ สบาย 
ใจ 
• 3. อัตถจริยา แปลว่า ประพฤติประโยชน์ หมายความว่า การ 
บาเพ็ญตนให้เป็นคนมีประโยชน์ต่อผู้อื่น ได้แก่ การไม่สร้าง 
ความเดือดร้อนให้แก่เพื่อนมนุษย์ และไม่นิ่งดูดายเมื่อผู้อื่นขอ 
ความช่วยเหลือ 
• 4. สมานัตตา แปลว่า ความเป็นคนมีตนสม่า เสมอ หมายความว่า 
ไม่ถือตัว คือไม่หยิ่งจองหองในเมื่อได้ดีมีฐานะ ซึ่งได้แก่ การให้ 
ความนับถือเพื่อนมนุษย์ ผู้มีฐานะศักด์ิศรีเท่าเทียมกับตน ไม่ดู 
หมิ่นเหยียดหยามบุคคลที่ด้อยกว่าตน เป็นต้น
3.พระพุทธศาสȨกับการส่งเสริมความสามัคคี
ความสามัคคีเป็นบ่อเกิดแห่งความสาเร็จทั้งปวง 
ความสามัคคีจึงเป็นแหล่งพลังอันยิ่งใหญ่ ที่จะ 
สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า และความมั่นคง 
ให้เกิดขึ้นได้ และเป็นสิ่งที่สมาชิกในสังคมทุกๆ 
คนควรที่จะตระหนัก เอาใจใส่ และสร้างสรรค์ขึ้น 
ให้มากที่สุด
ในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัส 
หลักธรรมอันจะเป็นแนวทางในการเสริมสร้างความ 
สามัคคีให้เกิดขึ้นในสังคมเอาไว้ 6 ประการด้วยกัน ซึ่ง 
อยู่ในหมวดธรรมที่เรียกว่า "สาราณียธรรม 6 " ซึ่งมี 
ความหมายว่า หลักธรรมอันเป็นที่ต้งัแห่งความระลึกถึง 
เป็นหลักธรรมที่จะเสริมสร้างความรู้สึกที่ดีให้เกิดขึ้นต่อ 
กันและกันอยู่เสมอในยามที่ระลึกถึงกัน ซึ่งจะเป็น 
เครื่องมือในการเสริมสร้างความสามัคคีมีน้า หนึ่งใจ 
เดียวกันให้เกิดขึ้นด้วย
หากสังคมใดต้องการที่จะเสริมสร้างความสามัคคีและ 
ความเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้น ก็ควรที่จะต้องนา เอาหลัก 
สาราณียธรรม 6 ธรรมทั้ง 6 ประการ ไปใช้อยู่ 
ตลอดเวลา กล่าวคือ 
1. เมตตามโนกรรม หมายถึง การคิดดี การมองกันใน 
แง่ดี มีความหวังดีและปรารถนาดีต่อกัน รักและเมตตา 
ต่อกัน
2. เมตตาวจีกรรม หมายถึง การพูดแต่สิ่งที่ดีงาม พูดกันด้วย 
ความรักความปรารถนาดี รู้จักการพูดให้กาลังใจกันและกัน 
ไม่พูดจาซ้า เติมกันในยามที่มีใครต้องหกล้มลง ไม่นินทาว่า 
ร้ายทั้งต่อหน้าและลับหลัง พูดในสิ่งที่ดีและมีประโยชน์ 
3. เมตตากายกรรม หมายถึง การทา ความดีต่อกัน สนับสนุน 
ช่วยเหลือกันทางด้านกาลังกาย มีความอ่อนน้อมถ่อมตน 
รู้จักสัมมาคารวะ ไม่เบียดเบียนหรือรังแกกัน ไม่ทาร้ายกัน 
ให้ได้รับความทุกขเวทนา ทา แต่ในสิ่งที่ถูกต้องต่อกันอยู่ 
ตลอดเวลา
4. สาธารณโภคีหมายถึง การรู้จักแบ่งปันผลประโยชน์ 
กันด้วยความยุติธรรม ช่วยเหลือกัน ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ 
เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ไม่เอารัดเอาเปรียบ และมี 
ความเสมอภาคต่อกัน เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกันอยู่เสมอ 
5. สีลสามัญญตา หมายถึง การปฏิบัติตามกฏระเบียบ 
ข้อบังคับหรือวินัยต่างๆอย่างเดียวกัน เคารพในสิทธิ 
เสรีภาพของบุคคล ไม่ก้าวก่ายหน้าที่กัน ไม่อ้าง 
อา นาจบาตรใหญ่ ไม่ถืออภิสิทธ์ิใดๆทั้งปวง
6. ทิฏฐิสามัญญตา หมายถึง มีความคิดเห็นเป็นอย่างเดียวกัน คิดใน 
สิ่งที่ตรงกัน ปรับมุมมองให้ตรงกัน รู้จักแสงหาจุดร่วมและสงวน 
ไว้ซึ่งจุดต่าง ของกันและกัน ไม่ยึดถือความคิดของตนเป็นใหญ่ 
รู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นอยู่เสมอ 
หลักธรรมทั้ง 6 ประการข้างต้น เป็นหลักธรรมเสริมสร้างความ 
สามัคคีและความเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้นในสังคม อันจะนา มาซึ่ง 
ความสุข ความสันติ ความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้าทั้ง 
ทั้งหลายทั้งปวง ดั่งพระพุทธวจนะบทที่ว่า "สมคฺคยาน ตโป สุโข 
ความสามัคคีของหมู่คณะเป็นเหตุนา ความสุขมาให้"
4.พระพุทธศาสȨกับการขัึϹย้ง
• ความขัดแย้ง หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ที่มีลักษณะของความไม่ 
เป็นมิตรหรือตรงกันข้ามหรือไม่ลงรอยกันหรือความไม่ 
สอดคล้องกัน ลักษณะของความไม่ลงรอยกันหรือไม่ 
สอดคล้องกันนี้จะเกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆ หลาย 
ประเด็น เช่น เป้าหมาย ความคิด ทัศนคติ ความรู้สึก 
ค่านิยม ความสนใจ ความสัมพันธ์ เป็นต้น
• สาเหตุหรือที่มาของความขัดแย้ง มีลักษณะ ดังนี้ 
• ความไม่เข้าใจกัน 
• ความสัมพันธ์ที่เพิกเฉยและไม่เกื้อกูลกัน 
• ความล้มเหลวของการสื่อความหมายอย่างเปิดเผยและซื่อตรง 
• การไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน ความกดดัน และการแข่งขัน 
• การรับรู้ของบุคคลที่อยู่ในสภาวการณ์ของความขัดแย้งที่มีผลต่อบุคคลอื่น ใน 
สภาวการณ์นั้น ซึ่งเป็นไปในทางส่งเสริมให้เกิดความขัดแย้ง 
• การแข่งขันเพื่อให้ได้มาซึ่งรางวัลที่มีอยู่จา กัด ไม่ว่าจะเป็นสิ่งตอบแทนอื่นๆ 
สถานภาพ ความรับผิดชอบ และอา นาจ 
• องค์ประกอบส่วนบุคคล ความขัดแย้งอาจเกิดจากบุคลิกภาพส่วนบุคคล เช่น 
การมีสัณชาตญาณของความรุนแรง ก้าวร้าว ต้องการการกแข่งขัน ฯลฯ ซึ่งแต่ 
ละคนอาจจะมีมากน้อยแตกต่างกัน
• หลักธรรมที่ช่วยลดความขัดแย้ง 
• พรหมวิหาร แปลว่า ธรรมของพรหมหรือของท่านผู้เป็นใหญ่ 
พรหมวิหารเป็นหลักธรรมสาหรับทุกคน เป็นหลักธรรม 
ประจา ใจที่จะช่วยให้เราดา รงชีวิตอยู่ได้อย่างประเสริฐและ 
บริสุทธ์ิ หลักธรรมนี้ได้แก่ 
• เมตตา ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข 
• กรุณา ความปราถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ 
• มุทิตา ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี 
• อุเบกขา การรู้จักวางเฉย

More Related Content

แนวྺ้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา

  • 1. แนวྺ้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา กับการเมืองการปกครอง • โจทย์แนวྺ้อสอบ มีดังนี้ • 1.พระพุทธศาสȨกับการส่งเสริมประชาธิปไตย • 2.พระพุทธศาสȨกับการ๶สริมสร้างสันติภาพ • 3.พระพุทธศาสȨกับการส่งเสริมความสามัคคี • 4.พระพุทธศาสȨกับการขัึϹย้ง
  • 3. หลักประชาธิปไตยทั่วไปในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาตั้งแต่เริ่มแรก ก่อนที่ พระพุทธเจ้าจะทรงมอบให้พระสงฆ์เป็นใหญ่ในกิจการทั้งปวงเสีย อีกลักษณะที่เป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนามีตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ 1. พระพุทธศาสนามีพระธรรมวินัยเป็นธรรมนูญหรือกฎหมาย สูงสุด พระธรรม คือ คาสอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง พระวินัยคือ คา สั่งอันเป็นข้อปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติขึ้นเมื่อรวมกัน เรียกว่า พระธรรมวินัย ซึ่งมีความสาคัญขนาดที่พระพุทธเจ้าทรง มอบให้เป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ก่อนที่พระองค์จะปรินิพพาน เพียงเล็กน้อย
  • 4. 2. มีการกา หนดลักษณะของศาสนาไว้เรียบร้อย ไม่ปล่อยให้เป็นไป ตามยถากรรม ลักษณะของพระพุทธศาสนาคือสายกลาง ไม่ซ้ายสุด ไม่ขวาสุด ทางสายกลางนี้เป็นครรลอง อาจปฏิบัติค่อนข้างเคร่งครัด ก็ได้ โดยใช้สิทธิในการแสวงหาอดิเรกลาภตามที่ทรงอนุญาตไว้ ใน สมัยต่อมา เรียกแนวกลางๆ ของพระพุทธศาสนาว่า วิภัชชวาทีคือ ศาสนาที่กล่าวจา แนกแจกแจง ตามความเป็นจริงบางอย่างกล่าว ยืนยันโดยส่วนเดียวได้ บางอย่างกล่าวจา แนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ ไป
  • 5. 3. พระพุทธศาสนา มีความเสมอภาคภายใต้พระธรรมวินัย บุคคลที่เป็นวรรณะกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรมาแต่เดิม รวมทั้งคนวรรณะต่า กว่านั้น เช่นพวกจัณฑาล พวกปุกกุสะคน เ ก็บ ข ย ะ แ ล ะ พ ว ก ท า ส เ มื่อ เ ข้า ม า อุป ส ม บ ท ใ น พระพุทธศาสนาอย่างถูกต้องแล้ว มีความเท่าเทียมกัน คือ ปฏิบัติตามสิกขาบทเท่ากัน และเคารพกันตามลาดับอาวุโส คือผู้อุปสมบทภายหลังเคารพผู้อุปสมบทก่อน
  • 6. 4. พระภิกษุในพระพุทธศาสนา มีสิทธิ เสรีภาพภายใต้พระ ธรรมวินัย เช่นในฐานะภิกษุเจ้าถิ่น จะมีสิทธิได้รับของแจก ก่อนภิกษุอาคันตุกะ ภิกษุที่จา พรรษาอยู่ด้วยกันมีสิทธิได้รับ ของแจกตามลาดับพรรษา มีสิทธิรับกฐิน และได้รับอานิสงส์ กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเท่าเทียมกัน นอกจากนั้นยังมีเสรีภาพที่จะเดินทางไปไหนมาไหนได้ จะอยู่ จา พรรษาวัดใดก็ได้เลือกปฏิบัติกรรมฐานข้อใด ถือธุดงควัตร ข้อใดก็ได้ทั้งสิ้น
  • 7. 5. มีการแบ่งอา นาจ พระเถระผู้ใหญ่ทา หน้าที่บริหารปกครอง หมู่คณะ การบัญญัติพระวินัย พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเอง เช่นมีภิกษุผู้ทาผิดมาสอบสวนแล้วจึงทรงบัญญัติพระวินัย ส่วนการตัดสินคดีตามพระวินัยทรงบัญญัติแล้วเป็นหน้าที่ ของพระวินัยธรรมซึ่งเท่ากับศาล 6. พระพุทธศาสนามีหลักเสียงข้างมาก คือ ใช้เสียงข้างมาก เป็นเกณฑ์ตัดสิน เรียกว่า วิธีเยภุยยสิกา การตัดสินโดยใช้เสียง ข้างมาก ฝ่ายใดได้รับเสียงข้างมากสนับสนุน ฝ่ายนั้นเป็นฝ่าย ชนะคดี
  • 9. • หัวใจของพระพุทธศาสนาคือสันติภาพภายในตัวของมนุษย์ถ้า เรามีสันติหรือความสงบในหัวใจ เราก็สามารถต่อสู้กับปัญหา ภายนอกได้ ด้วยความสุขุมรอบคอบและด้วยปัญญา เราจะเป็น คนที่ยิ้มสู้ปัญหา พระพุทธศาสนาสอนให้เรารักกัน มีความ เมตตากรุณาต่อกัน มีความอดทน ไม่เบียดเบียนกัน และคา สอน ที่สา คัญที่ทา ให้เรามีสันติภาพภายในหคือหลักของอิทัปปจยตาที่ สอนว่า “สรรพสิ่งอิงอาศัยกันและกันตามเหตุปัจจัยปรุงแต่ง
  • 10. จะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสนามุ่งเน้นสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขแต่การ จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขนั้นสมาชิกของสังคมจะต้องร่วมกันให้เกิดการ ปกครองที่ดี ดังคากล่าวของพระธรรมปิฏกที่ว่า สมาชิกของรัฐผู้มีส่วน ร่วมให้เกิดการปกครองที่ดี โดยเฉพาะคนในสังคมประชาธิปไตย พึงรู้ หลักปฏิบัติดังนี้ รู้หลักอธิปไตย คือ รู้หลักความเป็นใหญ่ที่เรียกว่า อธิปไตย 3 ประการ ดังนี้ 1. อัตตาธิปไตย ถือตนเป็นใหญ่ คือ ถือเอาตนเอง ฐานะ ศักด์ิศรี เกียรติภูมิ ของตนเป็นใหญ่ ฝ่ายที่เป็นกุศลในด้านนี้คือ การเว้นจากการทา ความชั่ว มุ่งทา ความดีด้วยการเคารพตนเอง 2. โลกาธิปไตย ถือโลกเป็นใหญ่ คือ ถือความนิยมของชาวดลกเป็นใหญ่ หวั่นไหวไปตามเสียงนินทา สรรเสริญ เป็นต้น ฝ่ายที่เป็นกุศลได้แก่ เว้น จากการทา ชั่ว มุ่งทา ความดีด้วยการเคารพเสียงของชนหมู่มาก
  • 11. • 3. ธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่ คือ ถือหลักการ ความจริง ความถูกต้อง ความดีงาม เหตุผลเป็นใหญ่ กระทาด้วยการคานึงถึง สิ่งที่ได้ศึกษา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง และยอมรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น การรู้จักพิจารณาอย่างถ่องแท้ ตามกา ลังสติปัญญา และมุ่ง คิดพิจารณาด้วยความบริสุทธ์ิใจ เป็นไปโดยชอบธรรม และเพื่อ ความดีงาม ตามหลักโดยทั่วไปได้แก่ การรู้จักเคารพหลักการ กฎ ระเบียบ กติกา และข้อบังคับทางสังคมหรือองค์กรนั้น ๆ ดังนั้น หากเราต้องการถือเอาความถูกต้องเป็นใหญ่ จะต้องยึดหลักของ ธรรมาธิปไตย โดยมิได้ถือตนหรือถือโลกเป็นใหญ่
  • 12. สาราณียธรรม หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง หมายถึง มีความ ปรารถนาดีต่อกัน เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ดังนี้ 1. เมตตากายกรรม ได้แก่ การเข้าไปตั้งกายกรรมประกอบด้วย เมตตา นั่นคือ การอยู่ด้วยกันด้วยการกระทา ดีต่อกัน ไม่เบียดเบียนทา ร้ายกัน ไม่ก่อสงคราม แต่มุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือกัน เพื่อความผาสุขของมวลมนุษย์ เป็นต้น 2. เมตตาวจีกรรม ได้แก่ การเข้าไปตั้งวจีกรรมประกอบด้วยเมตตา คือใช้ หลักการทูต โดยการเจรจาให้เข้าใจกัน ไม่กล่าวร้ายเสียดสีกัน เป็นต้น 3. เมตตามโนธรรม ได้แก่ การเข้าไปตั้งมโนกรรมประกอบด้วยเมตตา คือการ ไม่คิดทา ร้ายซึ่งกันและกัน มีความซื่อสัตย์เคารพในความคิดเห็นซึ่งกันและ กัน มีจิตเมตตาต่อกัน เป็นต้น
  • 13. 4. แบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้มาด้วยความชอบธรรมแก่เพื่อนมนุษย์ ได้แก่ การ แบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งในด้านอาหาร เครื่องอุปโภคบริโภค เครื่องมือการเกษตร ตลอดจนวิทยาการความรู้ต่างๆให้แก่เพื่อนมนุษย์รวม ตลอดถึงการรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน ไม่ทาลายระบบนิเวศน์ สิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบมวลมนุษย์ เป็นต้น 5. รักษาความประพฤติ(ศีล) เสมอกัน ได้แก่ การดาเนินนโยบายต่าง ๆ ต้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับมติสากลหรือหลักการขององค์การ สหประชาชาติหรือองค์การระหว่างประเทศไม่ฝ่าฝืนมติหรือหลักการนั้นอัน จะก่อให้เกิดความหวาดระแวง ไม่ไว้เนื้อเนื้อเชื่อใจกัน 6. มีความเห็นร่วมกัน ไม่วิวาทเพราะมีความเห็นผิดกัน ได้แก่ การอยู่ร่วมกัน จะต้องยอมรับในกฎกติกาทางสังคมที่กา หนดไว้ ไม่กระทา ตนเสมือนว่าเป็น การฝ่าฝืนมติของสังคมโลก ไม่เอารัดเอาเปรียบกันหรือข่มเหงกีดกันผู้อื่น มี แต่จะสร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและสังคมที่ตนอาศัยอยู่ด้วย
  • 14. • หลักสังคหวัตถุ 4 • สังคหวัตถุ 4 แปลว่า เครื่องยึดเหนี่ยว มีความหมายว่า คุณธรรมเหล่านี้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้า ใจของผู้อื่นไว้ได้ คือ เป็นเครื่องก่อให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวสนิทสนม ยิ่ง ๆ ขึ้นและผูกพันให้มั่นคงตลอดไป • หลักสังคหวัตถุ 4 มีดังต่อไปนี้ • 1.ทาน แปลว่า การให้ หมายถึง การแบ่งให้ เฉลี่ยให้ปันให้ เพื่อแสดงอัธยาศัยไมตรี ผูกสามัคคีกันไว้
  • 15. • 2. ปิยวาจา แปลว่า เจรจาอ่อนหวาน หมายถึง พูดคาที่สุภาพ อ่อนโยนและเป็นคาที่มีประโยชน์ที่ผู้ฟังได้ฟังแล้วชื่นใจ สบาย ใจ • 3. อัตถจริยา แปลว่า ประพฤติประโยชน์ หมายความว่า การ บาเพ็ญตนให้เป็นคนมีประโยชน์ต่อผู้อื่น ได้แก่ การไม่สร้าง ความเดือดร้อนให้แก่เพื่อนมนุษย์ และไม่นิ่งดูดายเมื่อผู้อื่นขอ ความช่วยเหลือ • 4. สมานัตตา แปลว่า ความเป็นคนมีตนสม่า เสมอ หมายความว่า ไม่ถือตัว คือไม่หยิ่งจองหองในเมื่อได้ดีมีฐานะ ซึ่งได้แก่ การให้ ความนับถือเพื่อนมนุษย์ ผู้มีฐานะศักด์ิศรีเท่าเทียมกับตน ไม่ดู หมิ่นเหยียดหยามบุคคลที่ด้อยกว่าตน เป็นต้น
  • 17. ความสามัคคีเป็นบ่อเกิดแห่งความสาเร็จทั้งปวง ความสามัคคีจึงเป็นแหล่งพลังอันยิ่งใหญ่ ที่จะ สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า และความมั่นคง ให้เกิดขึ้นได้ และเป็นสิ่งที่สมาชิกในสังคมทุกๆ คนควรที่จะตระหนัก เอาใจใส่ และสร้างสรรค์ขึ้น ให้มากที่สุด
  • 18. ในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัส หลักธรรมอันจะเป็นแนวทางในการเสริมสร้างความ สามัคคีให้เกิดขึ้นในสังคมเอาไว้ 6 ประการด้วยกัน ซึ่ง อยู่ในหมวดธรรมที่เรียกว่า "สาราณียธรรม 6 " ซึ่งมี ความหมายว่า หลักธรรมอันเป็นที่ต้งัแห่งความระลึกถึง เป็นหลักธรรมที่จะเสริมสร้างความรู้สึกที่ดีให้เกิดขึ้นต่อ กันและกันอยู่เสมอในยามที่ระลึกถึงกัน ซึ่งจะเป็น เครื่องมือในการเสริมสร้างความสามัคคีมีน้า หนึ่งใจ เดียวกันให้เกิดขึ้นด้วย
  • 19. หากสังคมใดต้องการที่จะเสริมสร้างความสามัคคีและ ความเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้น ก็ควรที่จะต้องนา เอาหลัก สาราณียธรรม 6 ธรรมทั้ง 6 ประการ ไปใช้อยู่ ตลอดเวลา กล่าวคือ 1. เมตตามโนกรรม หมายถึง การคิดดี การมองกันใน แง่ดี มีความหวังดีและปรารถนาดีต่อกัน รักและเมตตา ต่อกัน
  • 20. 2. เมตตาวจีกรรม หมายถึง การพูดแต่สิ่งที่ดีงาม พูดกันด้วย ความรักความปรารถนาดี รู้จักการพูดให้กาลังใจกันและกัน ไม่พูดจาซ้า เติมกันในยามที่มีใครต้องหกล้มลง ไม่นินทาว่า ร้ายทั้งต่อหน้าและลับหลัง พูดในสิ่งที่ดีและมีประโยชน์ 3. เมตตากายกรรม หมายถึง การทา ความดีต่อกัน สนับสนุน ช่วยเหลือกันทางด้านกาลังกาย มีความอ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักสัมมาคารวะ ไม่เบียดเบียนหรือรังแกกัน ไม่ทาร้ายกัน ให้ได้รับความทุกขเวทนา ทา แต่ในสิ่งที่ถูกต้องต่อกันอยู่ ตลอดเวลา
  • 21. 4. สาธารณโภคีหมายถึง การรู้จักแบ่งปันผลประโยชน์ กันด้วยความยุติธรรม ช่วยเหลือกัน ไม่เห็นแก่ตัว ไม่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ไม่เอารัดเอาเปรียบ และมี ความเสมอภาคต่อกัน เอื้อเฟื้อซึ่งกันและกันอยู่เสมอ 5. สีลสามัญญตา หมายถึง การปฏิบัติตามกฏระเบียบ ข้อบังคับหรือวินัยต่างๆอย่างเดียวกัน เคารพในสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ไม่ก้าวก่ายหน้าที่กัน ไม่อ้าง อา นาจบาตรใหญ่ ไม่ถืออภิสิทธ์ิใดๆทั้งปวง
  • 22. 6. ทิฏฐิสามัญญตา หมายถึง มีความคิดเห็นเป็นอย่างเดียวกัน คิดใน สิ่งที่ตรงกัน ปรับมุมมองให้ตรงกัน รู้จักแสงหาจุดร่วมและสงวน ไว้ซึ่งจุดต่าง ของกันและกัน ไม่ยึดถือความคิดของตนเป็นใหญ่ รู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นอยู่เสมอ หลักธรรมทั้ง 6 ประการข้างต้น เป็นหลักธรรมเสริมสร้างความ สามัคคีและความเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้นในสังคม อันจะนา มาซึ่ง ความสุข ความสันติ ความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้าทั้ง ทั้งหลายทั้งปวง ดั่งพระพุทธวจนะบทที่ว่า "สมคฺคยาน ตโป สุโข ความสามัคคีของหมู่คณะเป็นเหตุนา ความสุขมาให้"
  • 24. • ความขัดแย้ง หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ที่มีลักษณะของความไม่ เป็นมิตรหรือตรงกันข้ามหรือไม่ลงรอยกันหรือความไม่ สอดคล้องกัน ลักษณะของความไม่ลงรอยกันหรือไม่ สอดคล้องกันนี้จะเกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆ หลาย ประเด็น เช่น เป้าหมาย ความคิด ทัศนคติ ความรู้สึก ค่านิยม ความสนใจ ความสัมพันธ์ เป็นต้น
  • 25. • สาเหตุหรือที่มาของความขัดแย้ง มีลักษณะ ดังนี้ • ความไม่เข้าใจกัน • ความสัมพันธ์ที่เพิกเฉยและไม่เกื้อกูลกัน • ความล้มเหลวของการสื่อความหมายอย่างเปิดเผยและซื่อตรง • การไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน ความกดดัน และการแข่งขัน • การรับรู้ของบุคคลที่อยู่ในสภาวการณ์ของความขัดแย้งที่มีผลต่อบุคคลอื่น ใน สภาวการณ์นั้น ซึ่งเป็นไปในทางส่งเสริมให้เกิดความขัดแย้ง • การแข่งขันเพื่อให้ได้มาซึ่งรางวัลที่มีอยู่จา กัด ไม่ว่าจะเป็นสิ่งตอบแทนอื่นๆ สถานภาพ ความรับผิดชอบ และอา นาจ • องค์ประกอบส่วนบุคคล ความขัดแย้งอาจเกิดจากบุคลิกภาพส่วนบุคคล เช่น การมีสัณชาตญาณของความรุนแรง ก้าวร้าว ต้องการการกแข่งขัน ฯลฯ ซึ่งแต่ ละคนอาจจะมีมากน้อยแตกต่างกัน
  • 26. • หลักธรรมที่ช่วยลดความขัดแย้ง • พรหมวิหาร แปลว่า ธรรมของพรหมหรือของท่านผู้เป็นใหญ่ พรหมวิหารเป็นหลักธรรมสาหรับทุกคน เป็นหลักธรรม ประจา ใจที่จะช่วยให้เราดา รงชีวิตอยู่ได้อย่างประเสริฐและ บริสุทธ์ิ หลักธรรมนี้ได้แก่ • เมตตา ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข • กรุณา ความปราถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ • มุทิตา ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี • อุเบกขา การรู้จักวางเฉย