ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
โจทย์คาถามข้อสอบ
(สรุปตอบเอานะ! อย่าเหมือนกันหมด!!!)
1.ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
2546-2550 ได้กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้
กี่ประการ อะไรบ้าง จงอธิบาย?
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน
2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ
4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่
5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม
6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย
7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน
• ประกอบด้วย 9 มาตรการคือ
• 1) วางเงื่อนไขให้ส่วนราชการต่าง ๆ นาระบบการบริหารแบบมุ่ง
ผลสัมฤทธิ์มาประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง
• 2) ให้แต่ละส่วนราชการกาหนดเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพ
และยกระดับคุณภาพมาตรฐานในการให้บริการและการพัฒนา
องค์กร
• 3) ปรับเปลี่ยนระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการให้มีความ
ทันสมัยมากขึ้น โดยมาเฉพาะการควบคุมก่อนดาเนินงาน
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน (ต่อ)
• 4) ปรับปรุงระบบการประเมินผลการดาเนินงาน โดยจัดให้มีการเจรจาและ
ทาข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจาปี ให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์และแผน
ดาเนินงานรายปีกับหัวหน้าส่วนราชการไว้เป็นการล่วงหน้า รวมทั้งให้มี
การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามข้อตกลงดังกล่าวทุกสิ้นปี
และถือเป็นเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการให้เงินรางวัลประจาปีส่วนราชการ
• 5) ให้มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์และแผนดาเนินงาน/โครงการต่างๆ
อย่างเป็นระบบและสม่าเสมอ
• 6) การกาหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย และตัวชี้วัด ของแผนยุทธศาสตร์
และแผนดาเนินงานการจัดทาข้อตกลงว่าด้วยผลงาน รวมถึงการทบทวน
ติดตามและประเมินผลนั้น ให้มีกระบวนการปรึกษาหารือการสารวจและ
รับฟังความคิดเห็นของประชาชน และ/หรือการเปิดให้ประชาชนเข้ามามี
ส่วนร่วมโดยตรง
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน (ต่อ)
• 7) การปรับปรุงขั้นตอนและแนวทางการให้บริการประชาชนนั้น ให้แต่ละ
ส่วนราชการเสนอแผนในการปรับปรุงแก้ไข กฎหมายและระเบียบปฏิบัติ
ของทางราชการที่ล้าสมัย ไม่มีความจาเป็น หรืออาจเป็นอุปสรรคต่อการ
ให้บริการประชาชน
• 8) วางกติกาเพื่อให้มีการแข่งขันขึ้น โดยพยายามลดการผูกขาดของ
หน่วยงานราชการในการเป็นผู้ให้บริการสาธารณะเองลง และเปิดโอกาส
ให้ภาคเอกชน หรือองค์กรพัฒนาไม่แสวงหากาไรและองค์กรประชาสังคม
สามารถคัดค้านและเข้ามาดาเนินการแข่งขันได้(Contestability)
• 9)ให้มีการจัดทาแนวทางและคู่มือการบริหารราชการที่ดี เพื่อใช้ประกอบ
ในการชี้แจงทาความเข้าใจเผยแพร่และฝึกอบรม และให้คาปรึกษาแนะนา
แก่ส่วนราชการต่าง ๆ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในฐานะเป็นเครื่องมือใน
การประเมินตนเอง (Self –assessment) ของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่
ผู้ปฏิบัติงาน
2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
• ยุทธศาสตร์ 2 : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ
• 1) มุ่งเน้นการจัดระเบียบโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินใน
เชิงบูรณาการ โดยให้มีลักษณะแบบเมตริกซ์ ครอบคลุมทั้งในส่วน
ของการวางยุทธศาสตร์และการนายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ
• 2) ให้มีการทบทวนการจัดโครงสร้างองค์การของกระทรวง ทบวง
กรม ต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น เพื่อรองรับกับ
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป และยุทธศาสตร์การปฏิบัติงาน
รวมถึงพยายามปรับรูปแบบการทางานให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน(ต่อ)
• 3) ทบทวนปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาระบบและรูปแบบการบริหาร
ราชการส่วนภูมิภาคเพื่อให้จังหวัดเป็นองค์การที่มีสมรรถนะสูง สามารถนา
วาระแห่งชาติและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดสัมฤทธิ์ผล แก้ไข
ปัญหาและพัฒนาในระดับพื้นที่อย่างมีบูรณาการควบคู่ไปพร้อมกับการ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการอาเภอ เพื่อให้เป็นจุดรวม (Outlet) ให้บริการ
แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ
• 4) ทบทวนระบบบริหารบุคคลในราชการบริหารส่วนภูมิภาค เพื่อให้
สอดคล้องกับความหลากหลายในการจัดรูปแบบใหม่ของภูมิภาค และ
หลักการบริหารจัดการระดับจังหวัดแนวใหม่ รวมตลอดถึงสร้างความสานึก
ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับพื้นที่มีมโนธรรม สุจริต มีจิตใจพร้อมบริการ
ประชาชน (Citizen focused) และสามารถทางานในสิ่งแวดล้อมและ
วัฒนธรรมองค์การใหม่
3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ
• ประกอบด้วย 8 มาตรการ คือ
• 1) ปรับปรุงกระบวนการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินใหม่
• 2) ปรับเปลี่ยนระบบการงบประมาณให้สอดรับกับการบริหารราชการ
แผ่นดินแนวใหม่
• 3) ให้มีการวางยุทธศาสตร์/แผนงานการพัฒนาเขตพื้นที่หรืออนุภูมิภาคใน
เชิงบูรณาการ และดาเนินการจัดสรรทรัพยากรในลักษณะแบบอิงพื้นที่ โดย
ให้มีการวางหลักเกณฑ์การจัดสรรที่ชัดเจน
• 4) เปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการทาความตกลงเป็นการล่วงหน้าเพื่อ
สามารถเก็บเงินเหลือจ่ายไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์การหรือฝึกอบรม
ข้าราชการได้โดยเริ่มต้นในบางแผนงาน/โครงการ หรือกิจกรรม ที่มีความ
ชัดเจนและสามารถวัดผลงานได้อย่างเป็นรูปธรรมก่อน
3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ(ต่อ)
• 5) พิจารณาความเป็นไปได้ในการตรวจสอบและแปลงสินทรัพย์ของส่วนราชการ
ที่มีอยู่ให้เป็นทุนโดยอาจให้มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย (Capital Charge) ในรูปธรรม
ก่อน
• 6) ให้แต่ละส่วนราชการจัดทาแผนการใช้จ่ายเงินรายเดือนหรือรายไตรมาสของ
แผนงาน/โครงการต่าง ๆ รวมถึงการจัดทางบดุลและรายงานทางการเงินให้เป็นไป
อย่างถูกต้องและทันการณ์ เพื่อประโยชน์ในการโอนเงินผ่านทางระบบอิเล็กโทร
นิกส์เพื่อลดระยะเวลาและขั้นตอนการจัดทารายละเอียดของการทาฏีกาเบิก – จ่าย
และการควบคุมทางการเงิน
• 7) เร่งปรับปรุงระบบบัญชีของส่วนราชการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล
โดยให้สามารถคานวณต้นทุนในการจัดบริการสาธารณะได้
• 8) วางระเบียบเพื่อเปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการสามารถดาเนินกิจกรรม
บางอย่าง เพื่อหารายได้ของตนเองไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์การและเสริม
แรงจูงใจให้แก่บุคลากรในรูปของสวัสดิการ
4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่
• ประกอบด้วย 7 มาตรการ คือ
• 1) เร่งสรรหาบุคลากรผู้มีความสามารถสูงหรือระดับหัวกะทิ เข้าสู่
ระบบราชการ
• 2) พิจารณาความเป็นไปได้ ของการนาระบบการเลือกสรรระบบ
เปิด ที่เน้นหลักสมรรถนะการบริหารจัดการ มาใช้กับผู้บริหาร
ระดับสูงทุกตาแหน่ง
• 3) ทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบการจาแนกตาแหน่งและ
ค่าตอบแทน ให้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์การแข่งขัน ความ
ขาดแคลน และการบริหารราชการแนวใหม่
4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่(ต่อ)
4) เพิ่มผลิตภาพของข้าราชการ โดยให้มีการจัดทาเป้ าหมายการทางาน ขีด
ความสามารถ และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแต่ละบุคคลอย่างเป็นระบบ
มากขึ้น รวมถึงการเชื่อมโยงให้เข้ากับการสร้างแรงจูงใจ
5) ให้แต่ละส่วนราชการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรเชิงยุทธศาสตร์ โดยยึด
วิสัยทัศน์ ภารกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์การ และขีดความสามารถที่
จาเป็น (Competency – based Approach)
6) ปรับปรุงขีดสมรรถนะของศูนย์พัฒนาและโอนถ่ายบุคลากรภาครัฐ รวมทั้งจัด
ให้มีตาแหน่งทดแทนหรือสารองราชการขึ้นในระบบข้าราชการพลเรือนเพื่อ
ประโยชน์ในการหมุนเวียน โอนย้ายและพัฒนาข้าราชการ
7) พัฒนากลไกและกระบวนการในการรักษาและปกป้ องระบบคุณธรรมในวง
ราชการ รวมถึงปรับปรุงระบบวินัย อุทธรณ์และร้องทุกข์ให้มีความเหมาะสม
5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม
ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ
1) สร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมาย (Empowerment) ที่เป็น
ผู้บริหารระดับสูงในลักษณะของการเรียนรู้จากประสบการณ์ปฏิบัติจริง ๆ
(Action Learning) ด้วยวิธีการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การสร้างความรู้สึก
ผูกพันต่อพันธกิจที่จะนาไปสู่ระบบอนาคตที่พึงปรารถนาร่วมกัน การเรียนรู้
การทางานเป็นทีม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้วิธีคิดอย่างเป็นระบบ
2) เสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของ
กลุ่มเป้ าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนทางด้าน
ทรัพยากรของรัฐ การผลักดันในเชิงกฎระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งการเชื่อมโยง
กับเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ
5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม(ต่อ)
3) ให้แต่ละส่วนราชการจัดทาคาแถลงค่านิยมสร้างสรรค์ (Value
Statement) ประกาศมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อลด
ปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ รวมถึงการรณรงค์และวัดผลระดับ
ของการยอมรับและปฏิบัติตามค่านิยม มาตรฐานทางคุณธรรมและ
จริยธรรม อย่างจริงจัง
4) สร้างการมีส่วนร่วมในการแสวงหากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และ
ค่านิยมใหม่ ที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบราชการ รวมทั้งระดมการมี
ส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการจัดทา และดาเนินยุทธศาสตร์
ในการส่งเสริม และเผยแพร่กระบวนทัศน์ใหม่ ให้เป็นวาระแห่งชาติ
6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย
ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ
1) สนับสนุนให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจพัฒนาตนเองให้เป็นองค์การ
สมัยใหม่ ที่สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารสมัยใหม่ในการบริหารงาน การบริการ การเตือนภัยสาธารณะ และ
แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
2) ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนให้การบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่ง่าย
สะดวก รวดเร็ว โปร่งใสและซื่อสัตย์ ต่อผู้ใช้บริการ และเป็นศูนย์บริการ
ออนไลน์อิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐเพื่อให้ประชะชาชนได้ขอใช้บริการของรัฐได้ทุกเวลา
6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย(ต่อ)
3) ควบคู่ไปกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ จาเป็นต้องส่งเสริมและ
กาหนดมาตรฐานการให้บริการของรัฐในระดับสานักงาน ที่มี
ประสิทธิภาพ ถูกต้อง และรวดเร็ว ในรูปแบบของศูนย์บริการ
อิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจรที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐ เช่นเดียวกับการใช้บริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
ทางอินเทอร์เน็ต
4) ให้มีการศึกษาวิจัยและเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
และอนุบัญญัติที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานโดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ และการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ประกอบด้วย 6 มาตรการคือ
1) กาหนดเงื่อนไขและแนวทางเพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานราชการได้
ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการปฏิบัติราชการตามเจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนูญและหลักนิติธรรม
2) วางหลักเกณฑ์ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือ
กับประชาชน การสารวจความต้องการของประชาชน และ/ หรือการ
จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างสม่าเสมอ
3) ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen
Advisory Board) โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการ (กรม/จังหวัด/
อาเภอ)
7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม(ต่อ)
• 4) ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้าร่วม
ทางานกับข้าราชการ
• 5) ให้ทุกส่วนราชการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจาเป็นต่อ
การแสดงภาระรับผิดชอบความโปร่งใส และเปิดเผยเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงาน ลงในเว็ปไซต์เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล
สารสนเทศดังกล่าวได้โดยง่าย
• 6) กาหนดให้ความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมในการเปิดโอกาสให้
ประชาชนมีส่วนร่วมในระบบราชการเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการบริหาร
ที่ดีของส่วนราชการ
การนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย
1.เงื่อนไขความสาเร็จ อาศัยปัจจัย ดังนี้
1) ภาวะผู้นาและความเป็นเจ้าของในการบริหาร การเปลี่ยนแปลง
2) การแก้ไขกฎหมายอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบราชการ
3) การเชื่อมโยงและบูรณาการสรรพกาลังของทุกภาคส่วนในการ
พัฒนาระบบราชการ
4) การจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาระบบราชการให้แก่ส่วน
ราชการต่าง ๆ
การนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย
2.เครื่องมือในการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
1) การตราและบังคับใช้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารราชการที่ดี ตาม
มาตรา 3/1 วรรคท้ายแห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่ดิน พ.ศ.
2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 เพื่อเป็นแนวปฏิบัติแก่หน่วยงานต่าง ๆ
2) การใช้วิธีสร้างแรงจูงใจในรูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน เพื่อกระตุ้นให้
หน่วยงานปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการทางาน
3) การสร้างกระแสแรงกดดันจากบุคคลนอก โดยเฉพาะสื่อมวลชน
นักวิชาการธุรกิจเอกชนองค์กรประชาสังคมและประชาชน เพื่อเร่งรัดให้
หน่วยงานปรับปรุงการทางานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
4) การติดตามและประเมินผล

More Related Content

แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย

  • 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน 2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน 3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ 4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ 5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม 6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย 7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
  • 3. 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน • ประกอบด้วย 9 มาตรการคือ • 1) วางเงื่อนไขให้ส่วนราชการต่าง ๆ นาระบบการบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์มาประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง • 2) ให้แต่ละส่วนราชการกาหนดเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพมาตรฐานในการให้บริการและการพัฒนา องค์กร • 3) ปรับเปลี่ยนระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการให้มีความ ทันสมัยมากขึ้น โดยมาเฉพาะการควบคุมก่อนดาเนินงาน
  • 4. 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน (ต่อ) • 4) ปรับปรุงระบบการประเมินผลการดาเนินงาน โดยจัดให้มีการเจรจาและ ทาข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจาปี ให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์และแผน ดาเนินงานรายปีกับหัวหน้าส่วนราชการไว้เป็นการล่วงหน้า รวมทั้งให้มี การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามข้อตกลงดังกล่าวทุกสิ้นปี และถือเป็นเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการให้เงินรางวัลประจาปีส่วนราชการ • 5) ให้มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์และแผนดาเนินงาน/โครงการต่างๆ อย่างเป็นระบบและสม่าเสมอ • 6) การกาหนดวัตถุประสงค์เป้าหมาย และตัวชี้วัด ของแผนยุทธศาสตร์ และแผนดาเนินงานการจัดทาข้อตกลงว่าด้วยผลงาน รวมถึงการทบทวน ติดตามและประเมินผลนั้น ให้มีกระบวนการปรึกษาหารือการสารวจและ รับฟังความคิดเห็นของประชาชน และ/หรือการเปิดให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วมโดยตรง
  • 5. 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน (ต่อ) • 7) การปรับปรุงขั้นตอนและแนวทางการให้บริการประชาชนนั้น ให้แต่ละ ส่วนราชการเสนอแผนในการปรับปรุงแก้ไข กฎหมายและระเบียบปฏิบัติ ของทางราชการที่ล้าสมัย ไม่มีความจาเป็น หรืออาจเป็นอุปสรรคต่อการ ให้บริการประชาชน • 8) วางกติกาเพื่อให้มีการแข่งขันขึ้น โดยพยายามลดการผูกขาดของ หน่วยงานราชการในการเป็นผู้ให้บริการสาธารณะเองลง และเปิดโอกาส ให้ภาคเอกชน หรือองค์กรพัฒนาไม่แสวงหากาไรและองค์กรประชาสังคม สามารถคัดค้านและเข้ามาดาเนินการแข่งขันได้(Contestability) • 9)ให้มีการจัดทาแนวทางและคู่มือการบริหารราชการที่ดี เพื่อใช้ประกอบ ในการชี้แจงทาความเข้าใจเผยแพร่และฝึกอบรม และให้คาปรึกษาแนะนา แก่ส่วนราชการต่าง ๆ รวมถึงการใช้ประโยชน์ในฐานะเป็นเครื่องมือใน การประเมินตนเอง (Self –assessment) ของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน
  • 6. 2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน • ยุทธศาสตร์ 2 : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ • 1) มุ่งเน้นการจัดระเบียบโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินใน เชิงบูรณาการ โดยให้มีลักษณะแบบเมตริกซ์ ครอบคลุมทั้งในส่วน ของการวางยุทธศาสตร์และการนายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ • 2) ให้มีการทบทวนการจัดโครงสร้างองค์การของกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น เพื่อรองรับกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป และยุทธศาสตร์การปฏิบัติงาน รวมถึงพยายามปรับรูปแบบการทางานให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
  • 7. 2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน(ต่อ) • 3) ทบทวนปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาระบบและรูปแบบการบริหาร ราชการส่วนภูมิภาคเพื่อให้จังหวัดเป็นองค์การที่มีสมรรถนะสูง สามารถนา วาระแห่งชาติและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดสัมฤทธิ์ผล แก้ไข ปัญหาและพัฒนาในระดับพื้นที่อย่างมีบูรณาการควบคู่ไปพร้อมกับการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการอาเภอ เพื่อให้เป็นจุดรวม (Outlet) ให้บริการ แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ • 4) ทบทวนระบบบริหารบุคคลในราชการบริหารส่วนภูมิภาค เพื่อให้ สอดคล้องกับความหลากหลายในการจัดรูปแบบใหม่ของภูมิภาค และ หลักการบริหารจัดการระดับจังหวัดแนวใหม่ รวมตลอดถึงสร้างความสานึก ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับพื้นที่มีมโนธรรม สุจริต มีจิตใจพร้อมบริการ ประชาชน (Citizen focused) และสามารถทางานในสิ่งแวดล้อมและ วัฒนธรรมองค์การใหม่
  • 8. 3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ • ประกอบด้วย 8 มาตรการ คือ • 1) ปรับปรุงกระบวนการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินใหม่ • 2) ปรับเปลี่ยนระบบการงบประมาณให้สอดรับกับการบริหารราชการ แผ่นดินแนวใหม่ • 3) ให้มีการวางยุทธศาสตร์/แผนงานการพัฒนาเขตพื้นที่หรืออนุภูมิภาคใน เชิงบูรณาการ และดาเนินการจัดสรรทรัพยากรในลักษณะแบบอิงพื้นที่ โดย ให้มีการวางหลักเกณฑ์การจัดสรรที่ชัดเจน • 4) เปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการทาความตกลงเป็นการล่วงหน้าเพื่อ สามารถเก็บเงินเหลือจ่ายไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์การหรือฝึกอบรม ข้าราชการได้โดยเริ่มต้นในบางแผนงาน/โครงการ หรือกิจกรรม ที่มีความ ชัดเจนและสามารถวัดผลงานได้อย่างเป็นรูปธรรมก่อน
  • 9. 3. การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ(ต่อ) • 5) พิจารณาความเป็นไปได้ในการตรวจสอบและแปลงสินทรัพย์ของส่วนราชการ ที่มีอยู่ให้เป็นทุนโดยอาจให้มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย (Capital Charge) ในรูปธรรม ก่อน • 6) ให้แต่ละส่วนราชการจัดทาแผนการใช้จ่ายเงินรายเดือนหรือรายไตรมาสของ แผนงาน/โครงการต่าง ๆ รวมถึงการจัดทางบดุลและรายงานทางการเงินให้เป็นไป อย่างถูกต้องและทันการณ์ เพื่อประโยชน์ในการโอนเงินผ่านทางระบบอิเล็กโทร นิกส์เพื่อลดระยะเวลาและขั้นตอนการจัดทารายละเอียดของการทาฏีกาเบิก – จ่าย และการควบคุมทางการเงิน • 7) เร่งปรับปรุงระบบบัญชีของส่วนราชการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล โดยให้สามารถคานวณต้นทุนในการจัดบริการสาธารณะได้ • 8) วางระเบียบเพื่อเปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการสามารถดาเนินกิจกรรม บางอย่าง เพื่อหารายได้ของตนเองไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาองค์การและเสริม แรงจูงใจให้แก่บุคลากรในรูปของสวัสดิการ
  • 10. 4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ • ประกอบด้วย 7 มาตรการ คือ • 1) เร่งสรรหาบุคลากรผู้มีความสามารถสูงหรือระดับหัวกะทิ เข้าสู่ ระบบราชการ • 2) พิจารณาความเป็นไปได้ ของการนาระบบการเลือกสรรระบบ เปิด ที่เน้นหลักสมรรถนะการบริหารจัดการ มาใช้กับผู้บริหาร ระดับสูงทุกตาแหน่ง • 3) ทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบการจาแนกตาแหน่งและ ค่าตอบแทน ให้มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์การแข่งขัน ความ ขาดแคลน และการบริหารราชการแนวใหม่
  • 11. 4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่(ต่อ) 4) เพิ่มผลิตภาพของข้าราชการ โดยให้มีการจัดทาเป้ าหมายการทางาน ขีด ความสามารถ และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแต่ละบุคคลอย่างเป็นระบบ มากขึ้น รวมถึงการเชื่อมโยงให้เข้ากับการสร้างแรงจูงใจ 5) ให้แต่ละส่วนราชการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรเชิงยุทธศาสตร์ โดยยึด วิสัยทัศน์ ภารกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์การ และขีดความสามารถที่ จาเป็น (Competency – based Approach) 6) ปรับปรุงขีดสมรรถนะของศูนย์พัฒนาและโอนถ่ายบุคลากรภาครัฐ รวมทั้งจัด ให้มีตาแหน่งทดแทนหรือสารองราชการขึ้นในระบบข้าราชการพลเรือนเพื่อ ประโยชน์ในการหมุนเวียน โอนย้ายและพัฒนาข้าราชการ 7) พัฒนากลไกและกระบวนการในการรักษาและปกป้ องระบบคุณธรรมในวง ราชการ รวมถึงปรับปรุงระบบวินัย อุทธรณ์และร้องทุกข์ให้มีความเหมาะสม
  • 12. 5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ 1) สร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมาย (Empowerment) ที่เป็น ผู้บริหารระดับสูงในลักษณะของการเรียนรู้จากประสบการณ์ปฏิบัติจริง ๆ (Action Learning) ด้วยวิธีการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน การสร้างความรู้สึก ผูกพันต่อพันธกิจที่จะนาไปสู่ระบบอนาคตที่พึงปรารถนาร่วมกัน การเรียนรู้ การทางานเป็นทีม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้วิธีคิดอย่างเป็นระบบ 2) เสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของ กลุ่มเป้ าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนทางด้าน ทรัพยากรของรัฐ การผลักดันในเชิงกฎระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งการเชื่อมโยง กับเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ
  • 13. 5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม(ต่อ) 3) ให้แต่ละส่วนราชการจัดทาคาแถลงค่านิยมสร้างสรรค์ (Value Statement) ประกาศมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อลด ปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ รวมถึงการรณรงค์และวัดผลระดับ ของการยอมรับและปฏิบัติตามค่านิยม มาตรฐานทางคุณธรรมและ จริยธรรม อย่างจริงจัง 4) สร้างการมีส่วนร่วมในการแสวงหากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และ ค่านิยมใหม่ ที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบราชการ รวมทั้งระดมการมี ส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการจัดทา และดาเนินยุทธศาสตร์ ในการส่งเสริม และเผยแพร่กระบวนทัศน์ใหม่ ให้เป็นวาระแห่งชาติ
  • 14. 6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ 1) สนับสนุนให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจพัฒนาตนเองให้เป็นองค์การ สมัยใหม่ ที่สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสมัยใหม่ในการบริหารงาน การบริการ การเตือนภัยสาธารณะ และ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน 2) ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนให้การบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่ง่าย สะดวก รวดเร็ว โปร่งใสและซื่อสัตย์ ต่อผู้ใช้บริการ และเป็นศูนย์บริการ ออนไลน์อิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง หน่วยงานภาครัฐเพื่อให้ประชะชาชนได้ขอใช้บริการของรัฐได้ทุกเวลา
  • 15. 6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย(ต่อ) 3) ควบคู่ไปกับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ จาเป็นต้องส่งเสริมและ กาหนดมาตรฐานการให้บริการของรัฐในระดับสานักงาน ที่มี ประสิทธิภาพ ถูกต้อง และรวดเร็ว ในรูปแบบของศูนย์บริการ อิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจรที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ เช่นเดียวกับการใช้บริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ทางอินเทอร์เน็ต 4) ให้มีการศึกษาวิจัยและเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และอนุบัญญัติที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
  • 16. 7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประกอบด้วย 6 มาตรการคือ 1) กาหนดเงื่อนไขและแนวทางเพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานราชการได้ ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการปฏิบัติราชการตามเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญและหลักนิติธรรม 2) วางหลักเกณฑ์ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือ กับประชาชน การสารวจความต้องการของประชาชน และ/ หรือการ จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างสม่าเสมอ 3) ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory Board) โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการ (กรม/จังหวัด/ อาเภอ)
  • 17. 7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม(ต่อ) • 4) ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้าร่วม ทางานกับข้าราชการ • 5) ให้ทุกส่วนราชการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจาเป็นต่อ การแสดงภาระรับผิดชอบความโปร่งใส และเปิดเผยเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงาน ลงในเว็ปไซต์เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศดังกล่าวได้โดยง่าย • 6) กาหนดให้ความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมในการเปิดโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในระบบราชการเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการบริหาร ที่ดีของส่วนราชการ
  • 18. การนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 1.เงื่อนไขความสาเร็จ อาศัยปัจจัย ดังนี้ 1) ภาวะผู้นาและความเป็นเจ้าของในการบริหาร การเปลี่ยนแปลง 2) การแก้ไขกฎหมายอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบราชการ 3) การเชื่อมโยงและบูรณาการสรรพกาลังของทุกภาคส่วนในการ พัฒนาระบบราชการ 4) การจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาระบบราชการให้แก่ส่วน ราชการต่าง ๆ
  • 19. การนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 2.เครื่องมือในการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ 1) การตราและบังคับใช้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารราชการที่ดี ตาม มาตรา 3/1 วรรคท้ายแห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่ดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 เพื่อเป็นแนวปฏิบัติแก่หน่วยงานต่าง ๆ 2) การใช้วิธีสร้างแรงจูงใจในรูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน เพื่อกระตุ้นให้ หน่วยงานปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการทางาน 3) การสร้างกระแสแรงกดดันจากบุคคลนอก โดยเฉพาะสื่อมวลชน นักวิชาการธุรกิจเอกชนองค์กรประชาสังคมและประชาชน เพื่อเร่งรัดให้ หน่วยงานปรับปรุงการทางานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 4) การติดตามและประเมินผล