ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ตรรกศาสตร์
คำว่ำ “ตรรกศาสตร์” ได้มำจำกศัพท์ภำษำสัน
สฤตสองศัพท์ คือ ตรฺรก และศำสตฺร
ตรรก หมำยถึง กำรตรึกตรอง ควำมคิด ควำม
นึกคิด และคำว่ำ ศำสตฺร หมำยถึง วิชำ ตำรำ
รวมกันเข้ำเป็น “ตรรกศำสตร์” หมำยถึง วิชำว่ำ
ด้วยควำมนึกคิดอย่ำงเป็นระบบ ปรำชญ์ทั่วไป
จึงมีควำมเห็นร่วมกันว่ำ ตรรกศำสตร์ คือ วิชำ
ว่ำด้วย กำรใช้กฎเกณฑ์กำรใช้เหตุผล
ประพจน์ (Proposition)
ประพจน์ คือ ประโยคที่เป็นจริงหรือเป็น
เท็จเพียงอย่ำงเดียวเท่ำนั้น
* ประโยคเหล่ำนี้อำจจะอยู่ในรูปประโยค
บอกเล่ำหรือประโยคปฏิเสธก็ได้
ประโยคเปิด (Open sentence)
บทนิยำม ประโยคเปิดคือ ประโยคบอก
เล่ำ ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรหนึ่งหรือมำกกว่ำ
โดยไม่เป็นประพจน์ แต่จะเป็นประพจน์ได้เมื่อ
แทนตัวแปรด้วยสมำชิกเอกภพสัมพัทธ์ตำมที่
กำหนดให้นั่นคือเมื่อแทนตัวแปรแล้วจะ
สำมำรถบอกค่ำควำมจริง
ตัวเชื่อม (connective)
ตัวเชื่อมประพจน์ ” และ ” ( conjunetion ) ใช้
สัญลักษณ์แทน Ù และเขียนแทนด้วย P Ù Q แต่ละประพจน์มี
ค่ำควำมจริง(truth value) ได้2 อย่ำงเท่ำนั้น คือ จริง(True)
หรือ เท็จ(False) ถ้ำทั้ง P และ Qเป็นจริงจะได้ว่ำ PÙQ เป็น
จริง กรณีอื่นๆ P Ù Q เป็นเท็จ
P
Q P  Q
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
F
ตัวเชื่อมประพจน์ ” หรือ ” ( Disjunction ) ใช้
สัญลักษณ์แทน V และเขียนแทนด้วย P V Q และเมื่อ P V Q
จะเป็นเท็จ ในกรณีที่ทั้ง P และ Q เป็นเท็จเท่ำนั้น กรณีอื่น P
V Q เป็นจริง
P
Q P V Q
T
T
F
F
T
F
T
F
T
T
T
F
ตัวเชื่อมประพจน์ “ ถ้า….แล้ว” Conditional) ใช้
สัญลักษณ์แทน ® และเขียนแทนด้วย P®Q
P
Q PQ
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
T
ตัวเชื่อมประพจน์ “ก็ต่อเมื่อ” (Biconditional) ใช้
สัญลักษณ์แทน « และเขียนแทนด้วย P«Q
นั้นคือ P«Q จะเป็นจริงก็ต่อเมือ ทั้ง P และ Q เป็นจริงพร้อม
กันหรือทั้ง P และ Q เป็นเท็จพร้อมกัน
P
Q PQ
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
T
P
Q PQ
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
T
นิเสธ (Negation) ใช้สัญลักษณ์แทน ~ เขียนแทนนิเสธของ P ด้วย ~P ถ้ำ P
เป็นประพจน์นิเสธของประพจน์ P คือประพจน์ที่มีค่ำควำมจริงตรงข้ำมกัน P
P P
T
F
F
T
สัจนิรันดร์ (Tautology) และ
ควำมขัดแย้ง (Contradiction)
สัจนิรันดร์ (Tautology) คือ
รูปแบบประพจน์ที่มีค่ำควำมจริงเป็น
จริงเสมอโดยไม่ขึ้นอยู่กับค่ำควำม
จริงของตัวแปรของแต่ละประพจน์ที่
มีรูปแบบเป็นสัจนิรันดร์ เรียกว่ำ
ประพจน์สัจนิรันดร์ (Tautology
statement)
P
Q P v Q P PvQ
T
T
F
F
T
T
T
F
T
T
T
F
T
T
T
T
จำกตำรำงแสดงค่ำควำมจริงไม่ว่ำ P และ Q จะเป็นจริง
หรือเท็จก็ตำม ประพจน์ P® PvQ เป็นจริงเสมอ ดังนั้น
ประพจน์นี้เป็น สัจนิรันดร์
ควำมขัดแย้ง (Contradiction)
คือ รูปแบบประพจน์ที่มีค่ำควำมจริง
เป็นเท็จเสมอโดยไม่ขึ้นอยู่กับค่ำควำม
จริงของตัวแปรของแต่ละประพจน์ย่อย
ประพจน์ที่มีรูปแบบ เป็นควำมขัดแย้ง
เรียกว่ำ ประพจน์ควำมขัดแย้ง
(Contradicithon statement)
ทฤษฎีตรรกสมมูล (Logical Equivalences)
ควำมรู้ประพจน์ตรรกะสมมูล (Logical
equivalent statement) มีประโยชน์มำก สำหรับกำร
หำข้อโต้แย้งและข้อสรุปในทำงคณิตศำสตร์ ซึ่งในทำง
ปฏิบัติแล้วกำรสรุปเหตุผลในแต่ละรูปจะยุ่งยำกมำก
หำกไม่อำศัยทฤษฎี ตรรกะสมมูลในกำรกล่ำวอ้ำง
ดังนั้นจึงสรุปทฤษฎีตรรกะสมมูลไว้สำหรับใช้อ้ำงอิง
ต่อไป
กำหนดให้p , q , r แทนประพจน์ใดๆ t แทนสัจนิรันดร์ c แทน
ควำมขัดแย้ง
1. กฎกำรสลับที่ (Commutative laws)
p ^ q = q ^p , p ^ q = q v p
2. กฎกำรเปลี่ยนหมู่ (Associative laws)
(p ^ q) ^r = p ^ (q ^ r) , (p ^ q) v r = p v (q ^ r)
3. กฎกำรแจกแจง (Distributive laws)
p ^ (q v r) = (p ^ q) v ( p ^ r) ,
p v (q ^ r) = (p v q) ^ ( p v r)
4. กฎเอกลักษณ์ (Identity laws)
p v t = t , p ^ t = p
5. กฎนิเสธ (Negative laws)
p v ~p = t , p ^ ~ p = c
6.กฎนิเสธซ้อนนิเสธ (Double negative laws)
~(~p) = p
7. กฎนิจพล (Idempotent laws)
p ^p = p , p = p
8. กฎของเดอมอเกน (demerger’s laws)
~(p ^q) = ~p v ~q , ~(p v q) = ~p v ~q
9. กฎกำรจำกัดขอบข่ำย (Universal bound laws)
p v t = t , p ^ c = c
10. กฎกำรซึมซับ (Absorption laws)
p v (p ^ q) = p , p ^ (p v q) = p
11. นิเสธของ c และ t
~t = c , ~c=t
ตัวบ่งปริมำณ
(Quantified statement)
ตัวบ่งปริมำณ "ทั้งหมด" หมำยถึงทุกสิ่งทุก
อย่ำงที่ต้องกำรพิจำรณำในกำรนำไปใช้อำจ
ใช้คำอื่นที่มีควำมหมำยเช่นเดียวกับ
"ทั้งหมด" ได้ได้แก่ "ทุก" "ทุก ๆ" "แต่
ละ" "ใด ๆ" ฯลฯ เช่น คนทุกคนต้องตำย,
คนทุก ๆ คนต้องตำย,คนแต่ละคนต้อง
ตำย, ใคร ๆ ก็ต้องตำย
ตัวบ่งปริมำณ "บำง" หมำยถึงบำงส่วน
หรือบำงสิ่งบำงอย่ำงที่ต้องกำรพิจำรณำ
ในกำรนำไปใช้อำจใช้คำอื่นที่มี
ควำมหมำยเช่นเดียวกันได้ได้แก่"
บำงอย่ำง" "มีอย่ำงน้อยหนึ่ง" เช่น สัตว์
มีกระดูกสันหลังบำงชนิดออกลูกเป็นไข่
, มีสัตว์มีกระดูกสันหลังอย่ำงน้อยหนึ่ง
ชนิดที่ออกลูกเป็นไข่
ค่ำควำมจริงของประพจน์ที่มีตัวบ่งปริมำณ
1.∀x[P(x)] มีค่ำควำมจริงเป็นจริง เมื่อ x ทุกตัวในเอก
ภพสัมพัทธ์ทำให้P(x) เป็นจริง
2. ∀x[P(x)] มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ เมื่อมี x อย่ำงน้อย
1 ตัวที่ทำให้P(x) เป็นเท็จ
3. ∃x[P(x)] มีค่ำควำมจริงเป็นจริง เมื่อมี x อย่ำน้อย 1
ตัวที่ทำให้P(x) เป็นจริง
4.∃x[P(x)] มีค่ำควำมจริงเป็นเท็จ เมื่อไม่มี x ใดๆ ใน
เอกภพสัมพัทธ์ที่ทำให้P(x) เป็นจริง
กำรให้เหตุผล
(Reasoning)
1.กำรให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นกำรให้เหตุ โดยนำข้อควำมที่กำหนดให้ซึ่งต้อง
ยอมรับว่ำเป็นจริง ทั้งหมด เรียกว่ำ เหตุ และข้อควำมจริงใหม่ที่ได้เรียกว่ำ ผลสรุป
ซึ่งถ้ำ พบว่ำเหตุที่กำหนดนั้นบังคับให้เกิดผลสรุปไม่ได้แสดงว่ำ กำรให้เหตุผล
ดังกล่ำวสมเหตุสมผล แต่ถ้ำพบว่ำเหตุที่กำหนดนั้นบังคับให้เกิดผลสรุปไม่ได้แสดงว่ำ
กำรให้เหตุผลดังกล่ำวไม่สมเหตุสมผล
ตัวอย่ำง เหตุ 1. คนทุกคนต้องหำยใจ
2 . นำยเด่นต้องหำยใจ
ผลสรุป นำยเด่นต้องหำยใจ
2.กำรให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นกำรให้เหตุผลโดยอำศัยข้อสังเกตหรือผลกำรทดลองจำก
หลำยๆตัวอย่ำง มำสรุปเป็นข้อตกลง หรือข้อคำดเดำทั่วไป หรือ คำพยำกรณ์และจะต้องมี
ข้อสังเกต หรือ ผลกำรทดลอง หรือ มีประสบกำรณ์ที่มำกพอที่จะปักใจเชื่อได้แต่ก็ยังไม่
สำมำรถแน่ใจในผลสรุปได้เต็มที่เหมือนกับกำรให้เหตุผลแบบนิรนัย
ตัวอย่ำงกำรให้เหตุผลแบบอุปนัย เช่น เรำเคยเห็นว่ำมีปลำจำนวนมำกที่ออกลูกเป็นไข่ เรำจึง
อนุมำนว่ำ “ปลำทุกชนิดออกลูกเป็นไข่ ” ซึ่งกรณีนี้ถือว่ำไม่สมเหตุสมผล ทั้งนี้เพรำะข้องสังเกต
หรือ ตัวอย่ำงที่พบว่ำยังไม่มำกพอที่จะสรุป เพรำะโดยข้อเท็จจริงแล้วมีปลำบำงชนิดที่ออกลูก
เป็นตัว เช่น ปลำหำงนกยูง เป็นต้น

More Related Content

ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์