จริยธรรมในโลกྺองข้อมูล
- 1. จริยธรรมในโลกของข้ อมูล
คาว่าจริ ยธรรมเป็ นคาที่มีความหมายกว้างแม้กระทังในด้านคอมพิวเตอร์ ก็มีการกล่าวถึงในเรื่ อง
่
จริ ยธรรมเช่นกัน ในที่น้ ีจะกล่าวถึงจริ ยธรรม ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศในประเด็น
ต่างๆ ดังนี้
่
1. ความเป็ นส่ วนตัว เมื่อข้อมูลปรากฏอยูในโลกออนไลน์มากขึ้น ทาให้การรวบรวมข้อมูล การ
เข้าถึง การค้นหา และการแบ่งปั นข้อมูลส่ วนบุคคลเป็ นเรื่ องที่สามารถทาได้ง่ายและเร็ วขึ้น ทาให้ขอมูล
้
บางประเภทที่ มี ความเป็ นส่ วนตัวสู ง เช่ น เลขประจาตัวประชาชน วันเดื อนปี เกิ ด หมายเลข
โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลประวัติการรักษา อาจรั่วไหลไปสู่ สาธารณะได้ บางครั้งข้อมูลส่ วนตัวเหล่านี้ อาจถูก
นาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล เช่ น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์มือถื อซึ่ งถู กเก็บไว้โดย
สถานพยาบาล อาจรั่วไหลไปสู่ บริ ษทที่มีการประชาสัมพันธ์การขายผ่านโทรศัพท์มือถือ อาจทาให้เจ้าของ
ั
หมายเลขโทรศัพท์น้ น ถูกรบกวนโดยไม่ได้ต้ งใจ เป็ นต้น
ั ั
การรบกวนความเป็ นส่ วนตัวโดยใช้ โทรศัพท์มือถือ
ก่อนจะเผยแพร่ ขอมูลทุกครั้ง ต้องคานึ งถึ งข้อมูลที่มีความเป็ นส่ วนตัว ผลเสี ยจากการเผยแพร่
้
ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ อาจย้ อ นกลั บ มาสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ ก ั บ ตนเองหรื อผู ้ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ใ น
อนาคต เช่น นักเรี ยนโพสต์รูปของตนเองและ เพื่อนไว้ในเว็บไซต์เครื อข่ายทางสังคม แต่เพื่อนของ
นักเรี ยนอาจได้รับผลกระทบจากรู ปนั้นก็เป็ นได้
- 2. ตัวอย่ างการกาหนดสิ ทธิ์ในการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ใช้ แต่ ละกลุ่ม
ในบางกรณี ก ารไม่เปิ ดเผยข้อมู ลอาจเป็ นประโยชน์ต่อผูใช้ได้ เช่ น ในการปรึ กษาเกี่ ย วกับ
้
การแพทย์ เรื่ องความผิดปกติ ทางเพศ หรื อการเป็ นโรคติ ดต่อร้ ายแรง หากต้องเปิ ดเผยข้อมูลจริ ง
เหล่านี้ การใช้นามแฝงแทนจะเป็ นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการแลกเปลี่ยนข้อมูล แต่กรณี เหล่านี้ จะไม่
สามารถทาได้ในเว็บไซต์ท่ีกาหนดให้กรอกข้อมูลจริ ง เพื่อสมัครใช้บริ การ
ั
2. สิ ทธิ์ในการเข้ าถึงข้ อมูล เพื่อเป็ นการรักษาความปลอดภัยให้กบข้อมูล ในการเก็บข้อมูลใน
ฐานข้อมูลจะมีการกาหนดสิ ทธิ์ ในการในการเข้าถึงข้อมูลของผูใช้แต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาตให้ผใช้
้ ู้
คนหนึ่ งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่า จะให้ใช้ขอมูลใดได้บาง หรื อไม่มีสิทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมูล
้ ้
ใดบ้าง ตัวอย่างเช่น พนักงานแผนกการเงินซึ่ งสามารถเข้าถึงข้อมูล เงินเดือน ไม่ควรได้สิทธิ์ ในการเข้าถึง
ข้อมูลประวัติส่วนตัวของพนักงานทัวไปได้ เป็ นต้น
่
หากการเข้าใช้ระบบเพื่อการเข้าถึงข้อมูลเป็ นส่ วนหนึ่งของเรื่ องสิ ทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมูล ดังนั้นสิ ทธิ์
่
ในการใช้ระบบก็จะจัดอยูในเกณฑ์ขอนี้ ดวย โดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใดๆ นั้น ผูใช้จะต้องได้รับการ
้ ้ ้
อนุญาตจากผูดูแลระบบ (system administration) ซึ่ งมีหน้าที่คอยดูแล บารุ งรักษาระบบให้สามารถทางาน
้
ได้เป็ นปกติ การเข้าถึ งข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุ ญาต มีความผิดตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2550 เป็ นต้นมา มี
ั
ความผิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องของสิ ทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมูลหลายข้อ ยกตัวอย่างเช่น
มาตรา 5 ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ งระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ
้
มาตรการนั้นมิ ได้มีไ ว้ส าหรั บตน ต้องระวางโทษจาคุ ก ไม่ เกิ นหกเดื อน หรื อปรั บไม่เกิ นหนึ่ ง หมื่ น
บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
- 3. มาตรา 7 ผูใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และ
้
มาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่นบาท หรื อทั้งจา
ทั้งปรับ
นอกจากนี้ยงมีการระบุความผิดที่เกี่ยวข้องกับการดักรับข้อมูลซึ่ งเดินทางอยูในระบบเครื อข่าย โดย
ั ่
การดักรับนี้ไม่ได้รับอนุญาต ก็มีความผิดเช่นกัน
มาตรา 8 ผูใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ เพื่อดักรับไว้ ซึ่ ง
้
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นอยู่ระหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ น้ นมิได้มีไว้
้ ั
เพื่อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื่อให้บุคคลทัวไปใช้ประโยชน์ได้ตองระวางโทษจาคุกไม่เกิ นสามปี หรื อ
่ ้
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
- 4. จะเห็ นได้ว่า จากตัวอย่างของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550 นั้น การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นโดยไม่ได้รับอนุ ญาต มีความผิดทั้งจาคุกและปรับ ดังนั้น
้
ทุกคนต้องพึงระวังการใช้คอมพิวเตอร์ และการเข้าใช้งานเครื อข่าย แม้ว่าการกระทาบางอย่างอาจไม่ใช่
ความผิดขั้นร้ ายแรงถึ งกับมีโทษจาคุ กหรื อปรับเงิน แต่การกระทาการใดๆบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของเรา
นั้น อาจก่อความราคาญหรื อรบกวนการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของผูอื่นได้เช่นกัน
้
3. ทรั พย์ สินทางปัญญา ในกระบวนการผลิตโปรแกรม ระบบปฏิบติการ รู ปภาพเพลง หรื อ
ั
หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ จาเป็ นต้องใช้ตนทุนสู ง และใช้เวลาในการผลิตยาวนาน แต่เมื่อสิ่ งเหล่านี้ ปรากฏอยู่
้
ในรู ป แบบของข้อ มู ล ดิ จิ ท ัล ผูใ ช้ค นอื่ น ๆ สามารถท าซ้ า และน าไปใช้โ ดยไม่ ไ ด้จ่ า ยเงิ น ให้ ก ับ
้
ผูผลิต ก่อให้เกิ ดความเสี ยหายทางธุ รกิจกับเจ้าของข้อมูล ผูใช้จึงต้องพิจารณาขอบเขตของสิ ทธิ์ ที่ตนเอง
้ ้
ได้รับในข้อมูลดังกล่าว และเป็ นการสมควรหรื อไม่ที่จะดาวน์โหลดและแจกจ่ายข้อมูลดิจิทลเหล่านั้น
ั
นอกจากนี้การนาข้อความหรื อรู ปภาพจากสื่ ออินเตอร์ เน็ตมาใช้ จะต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้
ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การคัดลอกข้อความหรื อรู ปภาพจากเว็บประกอบในการทารายงาน โดยไม่อางอิง ้
แหล่งที่มา ถือเป็ นการกระทาที่ผดอย่างรุ นแรงตามหลักจริ ยธรรมสากลของการนาข้อมูลไปใช้
ิ
- 5. ตัวอย่าง การคัดลอกข้ อความหรือรู ปภาพจากเว็บประกอบในการทารายงาน โดยไม่ อ้างอิงแหล่ งทีมา
่
่
จะเห็นว่า ข้อมูล สารสนเทศ และความรู ้ เป็ นสิ่ งที่มีประโยชน์และมีมูลค่า ถึ งแม้วาสิ่ งต่างๆ
เหล่านี้ จะไม่ได้รับการตีราคาออกมาเป็ นจานวนเงิน แต่ผที่มีขอมูล สารสนเทศ และความรู้ รวมถึงมี
ู้ ้
วิธีการจัดการกับสิ่ งเหล่านี้ ได้ดีกว่า ย่อมสามารถบริ หารงานภายในองค์กร และสามารถแข่งขันกับโลก
ภายนอกได้เป็ นอย่างดี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการเลือกใช้เครื่ องมือที่
เหมาะสม เป็ นสิ่ งที่ควรรู ้ และเป็ นทักษะที่ตองฝึ กฝน ซึ่ งในปั จจุบนเครื่ องมือทางด้านสารสนเทศ เพื่อการ
้ ั
เก็บรวบรวม ประมวลผล รวมถึงแสดงข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ มีให้ใช้ได้อย่างหลากหลาย ควร
่
เลือกใช้ให้ถูกต้อง และมีจริ ยธรรม ควรพิจารณาให้ดีวา การใช้เครื่ องมือข้อความ รู ปภาพใดๆ ที่ได้มาควร
ปฏิบติอย่างไรจึงจะถูกกฎหมาย และจริ ยธรรม รวมทั้งไม่สร้างความเดือดร้อน ราคาญให้แก่ผอื่น จากการ
ั ู้
ใช้ส่ิ งเหล่านั้น
- 6. เกร็ดหน้ ารู้
ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่ งเป็ น 3 ประเภท ได้ แก่
ลิขสิ ทธิ์ (copyright) หมายถึง สิ ทธิ์ แต่ผเู ้ ดียวที่กฎหมายรับรองให้ผสร้างสรรค์กระทาการ
ู้
ใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทาขึ้น อันได้แก่ สิ ทธิ์ ที่จะทาซ้ า ดัดแปลง หรื อนาออกโฆษณา ไม่วาใน ่
รู ป ลัก ษณะอย่า งใดหรื อวิธี ใด รวมทั้งอนุ ญาตให้ผูอื่นนางานนั้นไปใช้ด้วย สาหรับโปรแกรม
้
คอมพิวเตอร์ หรื อซอฟต์แวร์ ถือเป็ นงานที่เข้าข่ายที่มีลิขสิ ทธิ์
เครื่องหมายการค้ า (trademark) ใช้สัญลักษณ์สากล คือ TM หรื อ ® หมายถึง เครื่ องหมาย
ที่ ใ ช้หรื อ จะใช้เป็ นเครื่ อ งหมายเกี่ ย วข้องกับ สิ นค้า เพื่ อแสดงว่า สิ น ค้า ที่ ใ ช้เครื่ องหมายของเจ้า ของ
เครื่ องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสิ นค้าที่ใช้เครื่ องหมายของบุคคลอื่น โดยสัญลักษณ์อาจจะประกอบ
ไปด้วย ชื่อ ข้อความ วลี สัญลักษณ์ ภาพ งานออกแบบ
สิ ทธิบัตร (patent) หมายถึง สิ ทธิ์ พิเศษที่กฎหมาบบัญญัติให้เจ้าของสิ ทธิ บตรมีสิทธิ์ แต่เพียงผู ้
ั
เดี ย ว ในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิ ษ ฐ์หรื อการออกแบบผลิ ตภัณฑ์ที่ ไ ด้รับสิ ทธิ บตร ั
นั้น เช่น การผลิตและจาหน่าย เป็ นต้น
ส าหรั บ การละเมิ ดสิ ท ธิ์ ไม่ ว่า จะเป็ นการคัดเลื อกหรื อผลิ ตซ้ า เกี่ ย วกับ ทรั พ ย์สิ นทางปั ญญา
ทั้ง 3 ประเภทนี้ถือว่าเป็ นการกระทาผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
ตัวอย่างการใช้ สัญลักษณ์เพือบอกข้ อกาหนดของการใช้ สื่อ
่
สั ญลักษณ์ ความหมาย
อนุญาตให้ใช้ ดัดแปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ ได้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ
ผลงาน
อนุ ญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ ไ ด้ โดยต้องอ้างถึ งเจ้าของ
ผลงานและ ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับต้องอ้างถึงสัญญาเดิม
อนุ ญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ ไ ด้ โดยต้องอ้างถึ งเจ้าของ
ผลงานและห้ามใช้ทางการค้า
อนุ ญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ ไ ด้ โดยต้องอ้างถึ งเจ้าของ
ผลงานและห้ามมีการแก้ไขต้นฉบับ
เกร็ดน่ ารู้ ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Common:CC)
่
เป็ นองค์กรที่จดตั้งขึ้นเพื่อให้การใช้ และเผยแพร่ สื่อต่างๆ มีความยืดหยุนมากขึ้น ทาให้การ
ั
ใช้สื่อมี อิสระโดยยังคงรักษาสิ ทธิ์ ของเจ้าของผลงาน บุคคลอื่ นสามารถใช้และเผยแพร่ สื่อได้ตาม
เงื่ อนไขที่เจ้าของผลงานกาหนด เช่ น ต้องระบุที่มาของสื่ อ (Attribution:by) ห้ามใช้ทางการค้า
(Noncommercial:nc) ห้ามแก้ไขต้นฉบับ (No Derivative work:nd) ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับต้องอ้าง
ถึงสัญญาเดิม (ShareAlike: sa)