ݺߣ
Submit Search
ความข้าใจใȨิลปะ
•
Download as PPTX, PDF
•
4 likes
•
10,216 views
K
Keerati Santisak
Follow
ความข้าใจใȨิลปะ
Read less
Read more
1 of 23
Download now
More Related Content
ความข้าใจใȨิลปะ
1.
ความเข้าใจศิลปะ (Understand of
Art) Aj Saroj Waikhongkha Multimedia Technology
2.
ความเข้าใจศิลปะ ART ความหมายของคาว่าศิลปะเป็นเรื่องที่ยากเพราะศิลปะเป็น
เรื่องของการสร้าง การแสดงอารมณ์จากความรู้สึกภายในใจของ มนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความงามความพอใจของแต่ละคน มนุษย์มี ความชอบและชื่นชมในความงามแตกต่างกัน ซึ่งคงเป็นเรื่องที่เข้าใจ ยาก สาหรับผ้ไูม่มีพื้นฐานทางศิลปะ
3.
ความเข้าใจศิลปะ ศิลปะคือการแสดงออกทางความรู้สึก ศิลปะคือความงาม
ความงามกับศิลปะเกี่ยวข้องกับความรู้สึกเบื้องต้น ของคนทัว่ไปที่มองศิลปะ ซึ่งจะรับรู้เหมือนๆกันคือ งานชิ้นไหนที่มี ความงามก็จะถือชิ้นนนั้คือศิลปะ ความงามกับศิลปะจึงผูกพันธ์กับ ศิลปะตลอดมา แต่ในบางครงั้ความงามเพียงตัวเดียวไม่สามารถ ตัดสินความเป็นศิลปะของงานชิ้นนนั้ได้ทงั้หมด ซึ่งอาจมีเรื่อง รสนิยม วัฒนธรรม เข้ามาเกี่ยวข้อง
4.
ศิลปะ ?
5.
ความเข้าใจศิลปะ ความหมายศิลปะตามทัศนะของนักปรัชญา
6.
ความเข้าใจศิลปะ ความหมาย :
ศิลปะคือผลงานที่มนุษย์สร้างขึ้น ในรูปแบบและลักษณะ ต่างๆ เพื่อแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก ความหมาย สัญญลักษณ์ทาง ความคิด ตามหลักสุนทรียภาพ การรับรู้ทางศิลปะ : มี2 ทางคือ การมองเห็น และการได้ยิน ส่วน การใช้ประสาทสัมผัสทางด้านอื่นเช่นทางตา หูเป็นเรื่องรอง ดังนนั้เราสามารถแบ่งการ รับรู้ทางศิลปะได้สามแนวทางคือ
7.
ทัศนศิลป์(Visual Arts): ศิลปะรับรู้ด้วย
การมองเห็น ได้แก่งานจิตกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และงานสถาปัตยกรรม โสตศิลป์(Aural Arts): ศิลปะรับรู้ด้วย การฟัง ได้แก่ดนตรีวรรณกรรม ผ่านการอ่านหรือร้อง
8.
โสตทัศนศิลป์(Audio Arts): ศิลปะรับรู้ด้วยการฟังและการมองเห็น
ได้แก่ ละคร ภาพยนตร์ นาฏกรรม เป็นรูปแบบของการผสมผสาน ของวรรณกรรม การแสดง ดนตรี และทัศนศิลป์
9.
ปัจจุบันงานศิลปะไม่ได้เจาะจง และเคร่งครัดว่าจะต้องเป็นแบบหนึ่งแบบใด ศิลปินมักมีการ
ผสมผสานเพื่อให้ได้ผลงานได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตามงานที่มีการผสมผสานจะต้องมีสื่อที่เป็นหลักอยู่ หนึ่งตัวที่เป็นส่วนสาคัญ แต่ก็มีบางงานไม่สามารถแยกสื่อนั้นออกจากกันได้เรามักเรียกสื่อนี้ว่า ศิลปะสื่อผสม โดยลักษณะการสร้างดูที่เจตนาของศิลปินเป็นหลัก
10.
การแบ่งประเภทสาขาวิชาศิลปะ: ตามจุดมุ่งหมายของการ สร้างได้2
ประเภท 1 วิจิตรศิลป์ (Fine Art) เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงคุณค่าของศิลปะโดยตรง เป็นการสร้างเพื่อสื่อความหมายอารมณ์ ความรู้สึก ประกอบไปด้วยความคิด จินตนาการ ริเริ่ม เป็นเอกลักษณ์
11.
วิจิตรศิลป์ (Fine Art)
แบ่งออกเป็น จิตกรรม (Painting) เป็นการแสดงออกด้วยวิธีการใช้สีแสงเงา สร้างขึ้นโดยประสบการณ์ โดยการใช้สีชนิดต่างๆ เป็นรูปแบบ เหมือนจริง กึ่งเหมือนจริง นามธรรม ศิลปะคือการแสดงออกทางความรู้สึก
12.
ศิลปะแบบหมือȨริง(پ)
13.
ศิลปะแบบกึ่งȨมธรรม(ٰ)
14.
ศิลปะแบบȨมธรรม(ٰ)
15.
ประติมากรรม (Sculpture) งานศิลปะที่สร้างเป็นรูปทรงสามมิติมีความกว้าง
ยาว ความลึกและหนา แสดงออกโดยวัสดุไม้หิน ดิน โลหะ ฯลฯ งานประติมากรรมมีลักษณะดังนี้ ประติมากรรมนูนต่า(Bas Relief) ประติมากรรมนูนสูง (High Relief)
16.
ประติมากรรมลอยตัว (Round Relief)
สถาปัตยกรรม (Architecture) คือการออกแบบก่อสร้างอาคาร สถานที่โดยใช้โครงสร้างปริมาตรของที่ว่างและรูปทรง โดย คานึงถึงความสะดวกเหมาะสมกับการใช้สอย ความมัน่คงแข็งแรง ความสวยงาม
17.
ภาพพิมพ์ (Graphic Art)
มีลักษณะเหมือนงานด้านจิตกรรม ต่างกันในส่วนที่ต้องมีแม่พิมพ์ก่อนการพิมพ์ภาพ สื่อผสม (Mixed Media) มีลักษณะงานเป็นจิตกรรม ประติมากรรม ภาพ พิมพ์วาดเส้น หรือดนตรีจังหวะเคลื่อนไหวและ สิ่งแวดล้อม โดยการผสมผสานด้วยวิธีต่างๆจน ไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็นงานใดได้เฉพาะ
18.
วรรณกรรม (Literature) เป็นการแสดงออกด้วยภาษาลักษณะการเขียน
เรียบเรียงถ้อยคา ทงั้ในแบบร้อยแก้วร้อย กรอง ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด และประสบการณ์ ดนตรีและนาฏกรรม (Music and Drama) ศิลปะที่แสดงออกด้วยเสียง คาพูด กริยาท่าทาง การเคลื่อนไหว เกิดจากเครื่องดนตรีชนิด ต่างๆ
19.
ศิลปะภาพถ่าย (Photography) คือการบันทึกภาพโดยวิธีให้แสง
จากสิ่งที่ถ่ายไปลงไปบนแผ่นวัตถุโดยใช้ความคิด เทคนิค วิธีการ พัฒนาจนเกิดความคิดสร้างสรรค์สามารถสะท้อนอารมณ์ความนึกคิดได้
20.
2 ศิลปะประยุกต์(Applied Art)
ศิลปะที่สร้างขึ้นเน้นประโยชน์ใช้สอยเป็นส่วนสาคัญ แต่ยังคงคานึงถึงคุณค่าและความ งดงาม อาจเป็นชิ้นเดียวหรือหลายชิ้นก็ได้ยกตัวอย่างเช่น พาณิชย์ศิลป์(Commercial Art) เป็นงานที่มุ่งเน้นทางการค้าในรูปแบบของการออกแบบ เช่นงานโฆษณา งานประชาสัมพันธ์ หนังสือ ปกซีดี
21.
ศิลปหัตถกรรม (Art and
Craft) คือ งานประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วยมือ ที่มีรูปแบบแตกต่างกันไปตามลักษณะท้องถิ่น ทาขึ้นเพื่อ ประโยชน์ใช้สอย และมีคุณค่าทางวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ มัณฑนศิลป์(Decorative Art) งานศิลปะการออกแบบตกแต่ง หรืองาน ช่างต่างๆ เช่นงานตกแต่งภายใน ภายนอก ให้เกิดความงามและประโยชน์ ใช้สอยคู่กันทา ให้เกิดคุณค่ามากยิ่งขึ้น
22.
อุสาหกรรมศิลป์ (Industrial Art)
งานศิลปะและการออกแบบผลิตภันฑ์ทางอุสาหกรรมที่เกิดจากเทคโนโลยีและวัสดุมา ประกอบการออกแบบ เพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม ความกลมกลืนกับหน้าที่การใช้สอย เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
23.
งานชิ้นที่1 ให้นักศึกษา หาตัวอย่างงานศิลปะตามหัวข้อดังต่อไปนี้พร้อมทงั้อธิบายตาม
ความคิดของตนเองว่ารูปหรืองานดังกล่าวเป็นงานศิลปะที่ชื่นชอบอย่างไร เพราะอะไร หัวข้อละ1ภาพ(ห้ามซ้ากัน) 1 งานจิตกรรม 2 งานประติมากรรม 3 ภาพพิมพ์ 4 สถาปัตยกรรม 5 งานโสตศิลป์ 6 โสตทัศนศิลป์ ................... 7 พาณิชย์ศิลป์ ................... ................... 8 ศิลปะหัตกรรม ................... 9 มัณฑนศิลป ................... 10 อุสาหกรรมศิลป์
Download