ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คาร์โบไฮ๶ึϸต  ( Carbohydrate)  หมายถึง  " คาร์บอนที่อิ่มตัวด้วยน้ำ "  ทั้งนี้เพราะโมเลกุลของคาร์โบไฮ๶ึϸตนั้นมีอัตราส่วนของ ไฮโดรเจนอะตอมต่อออกซิเจนอะตอมเช่นเดียวกับน้ำ คือ  H:O = 2:1  หรือ อัตราส่วนของ   C:H:O = 1:2:1  และ  H:O  เป็น  2:1  เสมอ เช่น   C 3 H 6 O 3  C 6 H 12 O 6  (C 6 H 10 O 5 ) n
ชนิดและโครงสร้างของคาร์โบไฮ๶ึϸต
Mono saccharide เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว มีสูตรทั่วไปเป็น  (CH 2 O) n  โดยทั่วไปมอนอแซ็กคาไรด์จะมีจำนวนอะตอมของคาร์บอนตั้งแต่  3  ถึง  8  อะตอม แต่ส่วนใหญ่จะมีจำนวนคาร์บอน  5  ถึง  8  อะตอม
สูตรโครงสร้างของ  Mono saccharide ในธรรมชาติส่วนใหญ่พบว่ามีโครงสร้างเป็นวง เนื่องจากเป็นโครงสร้างเสถียรกว่า
การเปลี่ยนโครงสร้างแบบโว่เปิด เป็นโครงสร้างแบบวง
Di saccharide เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ เมื่อถูกไฮโดรไลส์ด้วยกรด จะกลายเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ดังนี้
การเกิึϹึϹซ็กคาไรด์
Poly saccharide ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส ไกลโคเจน สารพวกนี้ต่างก็เป็น  Polymer  ของกลูโคส
แป้ง   ประกอบด้วยพอลิแซ็กคาไรด์  2  ชนิด คือ 1.  อะไมเลส เป็นพอลิแซ็กคาไรด์แบบโซ่ตรง 2.  อะไมโลเพกติน เป็นพอลิแซ็คคาไรด์แบบโซ่กิ่ง แป้งประกอบด้วยอะไมเลส ประมาณ  20%   อะไมโลเพกติน ประมาณ  80%
การไฮโึϸไลซ์แป้ง
เซลลูโลส  ประกอบด้วยกลูโคสจำนวนมากเชื่อมต่อกันเป็นพอลิเมอร์แบบโซ่ตรง เช่นเดียวกับ อะไมเลส แต่ลักษณะ การเชื่อมต่อต่างกันดังนี้  เซลลูโลส ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของพืช ถ้าไฮโดรไลซ์อย่างสมบูรณ์ จะได้กลูโคสเป็นผลิตภัณฑ์
ไกลโคเจน  เป็นคาร์โบไฮ๶ึϸตที่สะสมอยู่ในเซลล์ของสัตว์ พบมากในตับ และกล้ามเนื้อ ไกลโคเจนประกอบด้วยกลูโคสต่อกันคล้ายกับ โครงสร้างของอะไมโลเพกติน แต่จะมีมวลโมเลกุลและโซ่กิ่งมากกว่า ดังนี้
การทดสอบน้ำตาล น้ำตาลจะทดสอบกับสารละลายเบนาดิก ได้ตะกอนสี  เหลืองส้ม หรือสีแดงอิฐ ดังสมการ การเปลี่ยนสีของสารละลายเบเนดิกต์เกิดจาก  น้ำตาลจะถูกเปลี่ยนเป็นเกลือของกรดอินทรีย์
น้ำตาลที่ทำให้สารละลายเบเนดิกต์เปลี่ยนสี  ได้แก่ น้ำตาลพวก  Mono Saccharide  ทุกตัว น้ำตาลที่มีหมู่ฟอร์มิล  ( หมู่แอลดีไฮด์ )  เรียกน้ำตาลพวกนี้ว่า “แอลโดส” น้ำตาลที่มีหมู่แอลฟาไฮดรอกซีคีโตน  เรียกน้ำตาลพวกนี้ว่า “ดีโตส” น้ำตาลโมเลกุลคู่ที่สามารถทำปฏิกิริยากับเบเนดิกต์ได้คือมอลโทส และแล็กโทส ส่วน ซูโครสจะไม่ทำปฏิกิริยากับเบเนดิกต์
การทดสอบแป้ง ทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน ได้สารสีน้ำเงิน การหมัก ในกระบวนการหมักต้องปราศจากแก๊ส  O 2   ถ้ามี  O 2  มากจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นกรดอินทรีย์
สมาชิกใน กลุ่มที่ 4 น . ส .  ชนันญา ผลสันต์  เลขที่  12 น . ส .  นริศรา นิยมศิลป์ชัย เลขที่  15 น . ส .  สมฤทัย หาพิพัฒน์  เลขที่  21 น . ส .  ยุวรัตน์ รวยทรัพย์  เลขที่  23

More Related Content

คาร์โบไฮ๶ึϸต