ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ปญหาจริยธรรม

             การทําแทง หรือการยุติตั้งครรภเปนปญหา ทั้งทางสังคม ทางการแพทย และทางกฎหมายที่
มีความละเอียดออน และหลากหลายในประเด็นตางๆ ที่ยงเปนที่ถกเถียงกันในวงการตางๆ อยูอยาง
                                                                          ั
ตอเนื่อง. ลาสุดไดมีขาวใหญที่ไดมีการจับกุมแพทยคนหนึ่งสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ ในการ
ทําแทงที่คลินิกสวนตัว ซึ่งทันทีที่มีการจับกุม แพทยสภาก็ไดดําเนินการตรวจสอบ และพิจารณาใน
เรื่องจริยธรรมของแพทย ดังกลาวทันทีการทําแทงนั้นสามารถกระทําไดโดยถูกกฎหมาย ในบาง
กรณีตามประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งบัญญัติไวดังนี้
             มาตรา 301 หญิงใดทําใหตนเองแทงลูกหรือ ยอมใหผูอื่นทําใหตนแทงลูก ตองระวางโทษ
จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
            มาตรา 302 ผูใดทําใหหญิงแทงลูกโดยหญิงนันยินยอมตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป
                                                                      ้
หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
ถาการกระทํานั้นเปนเหตุใหหญิงรับอันตรายสาหัสอยางอื่นดวย ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไม
เกินเจ็ดป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ถาการกระทํานั้นเปนเหตุใหหญิงถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และ
ปรับไมเกินสองหมื่นบาท
            มาตรา 305 ถาการกระทําความผิดดังกลาว ในมาตรา 301 และมาตรา 302 นั้น เปนการ
กระทําของนายแพทยและ
          (1) จําเปนตองกระทําเนื่องจากสุขภาพของ หญิงนัน หรือ          ้
         (2) หญิงมีครรภเนื่องจากการกระทําความผิดอาญาตามที่บัญญัติไวในมาตรา 276 มาตรา 277
มาตรา 282 มาตรา 283 หรือมาตรา 284 ผูกระทําไมมีความผิด
             ขณะนี้มีรางแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญามาตรา 305 ที่เสนอโดยกระทรวง
สาธารณสุ ข ซึ่ ง กํา ลั ง รอเข า สู ก ารพิ จ ารณาของสภาผู แ ทนราษฎรอยู โดยมี ก ารแก ไ ข
เพิ่ ม เติ ม ให แ พทย ส ามารถยุ ติ ก ารตั้ ง ครรภ ไ ด เ พิ่ ม จากเดิ ม อี ก โดยได บั ญ ญั ติ ใ ห ชั ด เจนว า
สามารถกระทํา ได เ พื่ อ สุ ข ภาพจิ ต ของมารดา และ เพื่ อ สุ ข ภาพของทารกในครรภ ด ว ยซึ่ ง
เป น กรณี ท่ี ห ลายๆฝ า ยเห็ น ว า ควรได รั บ การยกเว น ให ก ระทํา ได เพราะเป น ประโยชน ต อ
ผู ป ว ย ซึ่ ง เป น หญิ ง ที่ ต้ั ง ครรภ แ ล ว มี ป ญ หา แต ข ณะที่ กา ลั ง รอร า งกฎหมายฉบั บ นี้ อ ยู
                                                                            ํ
แพทยสภาก็ ไ ด มี ข อ บั ง คั บ ของแพทยสภาในเรื่ อ งการยุ ติ ก ารตั้ ง ครรภ ซึ่ ง ได ป ระกาศใน
ราชกิ จ จานุ เ บกษา แล ว ดั ง นี้
ขอบังคับแพทยสภาวาดวย
หลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตังครรภทางการแพทย  ้
ตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2548
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (3) (ฎ) และดวยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษตาม
มาตรา 25 แหงพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 อันเปนพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติ
บางประการเกียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 50 ของ
                  ่
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย คณะกรรมการแพทยสภาออกขอบังคับ ดังตอไปนี้
         ขอ 1 ขอบังคับนี้เรียกวา "ขอบังคับแพทยสภาวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัตเิ กี่ยวกับการยุตการ
                                                                                               ิ
ตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2548"
        ขอ 2 ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
                                              ั
        ขอ 3 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญานั้น จะ
กระทําไดเมื่อหญิงตั้งครรภน้นยินยอม
                                 ั
       ขอ 4 แพทยผูกระทําการยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามขอบังคับนี้ตองเปนผูประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย
       ขอ 5 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 (1) แหงประมวลกฎหมายอาญา ให
เปนไปตามเงือนไขดังนี้
                ่
       (1) เปนกรณีที่จําเปนตองกระทําเนื่องจากปญหาสุขภาพทางกายของหญิงตั้งครรภ หรือ
       (2) เปนกรณีที่จําเปนตองกระทําเนื่องจากปญหาสุขภาพทางจิตของหญิงตั้งครรภ ซึ่งจะตอง
ไดรับการรับรอง หรือเห็นชอบจากผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มิใชผูกระทําการยุตการตั้งครรภ
                                                                                     ิ
อยางนอยหนึ่งคนในกรณีที่หญิงนั้นมีความเครียดอยางรุนแรง เนื่องจากพบวาทารกในครรภ มีหรือ
มีความเสี่ยงสูงที่จะมีความพิการอยางรุนแรง หรือเปนหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเปนโรคพันธุกรรม
อยางรุนแรง เมื่อหญิงนั้นไดรับการตรวจวินิจฉัยและการปรึกษาแนะนําทางพันธุศาสตร (Genetic
counseling) และมีการลงนามรับรองในเรื่องดังกลาวขางตนโดยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มิใช
ผูกระทําการยุติการตั้งครรภอยางนอยหนึ่งคน ใหถือวาหญิงตั้งครรภนั้นมีปญหาสุขภาพจิตตาม (2)
ทั้งนี้ตองมีขอบงชี้ทางการแพทยที่ชัดเจนวาหญิงนันมีปญหาสุขภาพทางกายหรือทางจิต และตองมี
                                                     ้ 
การบันทึกการตรวจและวินิจฉัยโรคไวในเวชระเบียนเพือเปนหลักฐาน
                                                          ่
       ขอ 6 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 (2) แหงประมวลกฎหมายอาญานั้น
ตองมีหลักฐานหรือขอเท็จจริงอันควรเชื่อไดวา หญิงตั้งครรภเนื่องจากการกระทําความผิดอาญา
ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 305 (2) แหงประมวลกฎหมายอาญา
     ขอ 7 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามขอ 5 และขอ 6 ตองกระทําในสถานพยาบาล
ดังตอไปนี้
         (1) โรงพยาบาลหรือหนวยงานของรัฐที่ใหบริการรับผูปวยไวคางคืน หรือสถานพยาบาลเวช
กรรมที่มีเตียงรับผูปวยไวคางคืนตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล ทังนี้โดยสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับ
                                                                    ้
การยุติการตั้งครรภทางการแพทยไดตามความเหมาะสม
(2) คลินิกเวชกรรมตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล โดยสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติ
การตั้งครรภทางการแพทยทอายุครรภไมเกินสิบสองสัปดาห
                              ่ี
       ขอ 8 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมทีปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภทางการแพทยตาม
                                         ่
ขอบังคับนี้จะตองทํารายงานเสนอตอแพทยสภา ตามเงือนไขและระยะเวลาในแบบฟอรมที่แพทย
                                                     ่
สภากําหนด
      ขอ 9 ในกรณีท่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูกระทําการยุติการตั้งครรภทางการแพทยไม
                       ี
ปฏิบัติตามขอบังคับนี้ ใหถือวาผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูนั้นประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไม
รักษามาตรฐานในระดับที่ดที่สุด
                            ี
     ขอ 10 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมทีปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภทางการแพทยตาม
                                           ่
ขอบังคับนี้ ใหถือวาไดกระทําตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญา

สถานการณปจจุบันวัยรุนไทยทําแทงสูงที่สุดในโลก โดยพล.ต.ต.น.พ.ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ
                   
(Online) Available:.http://www.tlcthai.com 18 March 2010) ศูนยสรางเสริมสุขภาพวัยรุนของ 
โรงพยาบาลรามาธิบดี ประมาณการวาจะมีวัยรุนทําแทงถึงปละ 3 แสนคน หรือวันละราว 1,000
คน ซึ่งเปนเรืองนากลัวเพราะมันไดกลายเปนคานิยมใหมของวัยรุน ยิงเมื่อถามความคิดเห็นตอไปก็
                 ่                                                   ่
ยิ่งหนาว เพราะ 4.2% บอกวาเคยคิดขายตัว และถาอนุมานกันจริง ๆ ก็คาดวามีเด็กกวา 15% คิดขาย
ตัว เพราะมองวาเรื่องนี้ไมนาตําหนิ ขณะเดียวกันกองโรคเอดสของกระทรวงสาธารณสุขก็รายงาน
วากวา 50% ของคนที่เปนโรคเอดสเปนวัยรุนอายุระหวาง 15-34 ป และสวนใหญเปนเพศหญิง
            สํานักวิจยเอแบค โพลสํารวจพฤติกรรมทางเพศของวัยรุนอายุ 15-25 ป จํานวน 1,627 คน
                     ั                                           
พบพฤติกรรมเชิงชูสาวกับบุคคลเพิ่งรูจักตามหางสรรพสินคา ผับ และเธค กลาวคือ วัยรุน 40.2%
ยอมรับใหจับมือและโอบเอวได และมี 13.9% ที่บอกวายอมรับไดหากจะมีเพศสัมพันธกบคนที่เพิงั      ่
รูจัก ที่นาตกใจคือ บุคคลที่ตอบคําถามครั้งนี้ระบุวาเคยผานการมีเพศสัมพันธถึง 42.4% โดยกวาครึง
                                                                                                ่
เคยมีเพศสัมพันธมากกวา 1 คน
         อดีตผูชวยรัฐมนตรีวีระศักดิ์ เคยทําวิจยแลวพบวา เด็กนักเรียนไทยระดับมัธยมกวา 50% มี
                                                ั
เพศสัมพันธโดยเฉพาะ “เซ็กซเอื้ออาทร” ระหวางเพื่อนจนกลายเปนคํานิยมของเด็กไทยแลวใน
ขณะที่อีกการวิจัยหนึ่งพบวา ผูหญิง 29.9% เคยทําแทงตั้งแตอายุยังไมถึง 20 ป 2.7% เคยทําขณะ
เปนนักศึกษา 70% มีเพศสัมพันธกอนอายุ 20 ป 5% มีเพศสัมพันธกอนอายุ 15 (ต่ําสุด 11 ขวบ)
ในกลุมอายุ 15-23 ป มีพฤติกรรมแลกเปลี่ยนคูนอนเพิ่มขึน 50%  ้
         ในกรณีการดืมเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลนั้น วัยรุนไทยกับอเมริกันดื่มพอ ๆ กัน คือ 84 และ
                        ่                                      
78% ตามลําดับ และ วัยรุนไทยเสพยาบามากกวาอเมริกน 2 เทาตัว และดื่มแลวขับสูงกวาวัยรุน
                                                           ั
อเมริกัน 3 เทาตัว โดย 43% ไมสวมหมวกกันกระแทก
         สวนเรื่องตั้งครรภนั้น วัยรุนอเมริกาเคยตั้งทองรอยละ 5 ขณะทีวัยรุนไทยตั้งครรภสงกวา
                                                                            ่                 ู
รอยละ 10 จึงไมนาแปลกใจวาสถิติการทําแทงจะสูงตอไป เพราะไหนจะมีความสําสอนแลวยังมี
การขมขืนมากขึ้น มีความหลงผิดของสาวยุคใหม คือเกิดความฟุงเฟอ หากินเปนโสเภณีชนสูงเปน    ั้
เครื่องตอบสนองความใคร โดยขาดจิตสํานึกของการรักตัวเอง ขณะทีผูใหญมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน
                                                                          ่
ชอบเด็กและใชเงินซื้อความสุขทางเพศ
         วัยรุนไทยจึงมีพฤติกรรมเสี่ยงที่นาหวงจนเกรงวากวาจะเติบใหญจะไมเหลือคนดี ๆ ไว
                                             
สรางชาติ ตางจากสมัย 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ซึ่งวัยรุนที่รวมพลังสรางชาติใหม
สามารถเติบใหญเปนผูบริหารบานเมืองไทย
         คําถามมีวาวัยรุนยุคใหมจะเติบโตไปเปนผูบริหารที่ดี ๆ อยางรุนกอนหรือไม ถาคําตอบคือ
                    
ไดกจะไดสบายใจ แตใครจะรับรองละ และถาคําตอบคือไม จะทําอยางไรดี
      ็
(Online) Available:.http://www.matichon.co.th 19 Novemer 2009)
         การตรวจสอบซากศพทารกที่เกิดจากการทําแทงนํามาเก็บไวรอเผาบริเวณ "ศาลาสันติสข"           ุ
สถานที่บรรจุศพวัดไผเงินโชตนาราม ถนนจันทน ซอย 43 แยก 22 แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม
กทม. เพิ่มกวา 2,000 ศพแลว โดยเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ต.อ.สุคุณ พรหมายน รอง ผบก.น.5
พ.ต.อ.เมธี รักพันธุ ผกก.สน.วัดพระยาไกร พ.ต.อ.สมบัติ มิลินทจินดา ผกก.สืบสวน บก.น.5
พ.ต.อ.สุรเชษฐ หักพาล ผกก.3 บก.ปคม. ร.ต.อ.ขวัญชัย แปนมณฑา รอง สว.สส.สน.วัดพระยา
ไกร แพทยนติเวชโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ตํารวจกอง พิสูจนหลักฐาน (พฐ.) สํานักนิติ
                ิ
วิทยาศาสตร สํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งนายจุรินทร ลักษณวิศษฏ รัฐมนตรีวาการกระทรวง
                                                                      ิ             
สาธารณสุข (สธ.) นพ.สมชัย ภิญโญพรพาณิชย อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) นาย
บัณฑิต สิทธินามสุวรรณ ผูอํานวยการเขตบางคอแหลม และเจาหนาทีและอาสาสมัครมูลนิธิปอ
                                                                        ่
เต็กตึ๊งกวา 50 นาย มารวมกันตรวจสอบชองบรรจุศพที่ 9 และ 10 "ศาลาสันติสุข" ตามคําใหการของ
นายสุชาติ หรือชาติดํา ภูมี อายุ 38 ป ผูชวยสัปเหรอ ผูตองหารวมกันซอนเรนทําลายศพ ที่รับ
สารภาพวามีซากศพทารกใสไวอีกจํานวนมาก
ทั้งนี้ ระหวางตรวจสอบมีประชาชนละแวกวัดและใกลเคียงนับรอยทยอยมาดู และทางวัดไดนา     ํ
นมกลอง กลวยน้ําวา พวงมาลัย มาวางเซนไหวบริเวณพืนปูนทางผานเขาไปที่ "ศาลาสันติสุข" และ
                                                    ้
มีพระครูวิจิตร สรคุณ เจาอาวาสวัดไผเงินโชตนาราม รวมสังเกตการณอยูหางๆ
นายจุรนทรกลาววา สั่งใหติดตามเฝาระวังตรวจสถานพยาบาลใหเขมแข็งขึ้นทั่วประเทศไมเฉพาะ
        ิ
ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเชื่อวาการทําแทงจะทําในสถานพยาบาล 4 กลุมเสี่ยง ไดแก
        1.คลีนิกเสริมความงาม
        2.คลีนิกศัลยกรรม
        3.คลีนิกบําบัดยาเสพติด
            4.คลีนิกรับวางแผนครอบครัว แตไมไดหมายความวาสถานพยาบาลใน 4 กลุมเสี่ยงจะ
กระทําผิดกฎหมายทั้งหมด และ มีความเปนไปไดทจะลักลอบทําแทงเถื่อนในสถานพยาบาลถูก
                                                      ี่
กฎหมายดวย เบื้องตนตองตรวจสอบวามีใบอนุญาตเปดอยางถูกตองตามกฎหมายหรือไม ดังนั้น
ประชาชนที่มีเบาะแส หรือขอมูลเกี่ยวกับคลีนิกที่ลักลอบทําแทง หรือกระทําผิดกฎหมาย แจงที่ตู
ปณ.9 กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี 11000 หรือโทร.ที่สายดวน 1593 ตลอด 24 ชั่วโมง
     ผูส่อขาวรายงานวา เจาหนาที่มลนิธิปอเต็กตึ๊งและอาสาสมัคร ตรวจนับซากทารกจํานวนทั้ง
          ื                          ู     
สองชองตั้งแตเวลา 10.00-15.20 น. รวมเวลา 5 ชั่วโมง โดยชองที่ 9 นับได 950 ถุง มีซากทารกแฝด
ปะปน 1 ถุง และชอง 10 นับได 704 ถุง มีซากทารกแฝดปะปน 2 ถุง รวมทั้งหมดนับไดครั้งนี้ 1,654
ถุง ซึ่งซากทารกในแตละถุงมีสภาพเนาเปอยยุย สภาพถุงผิดกับชอง 17 ที่พบเมื่อวันที่ 16
                                               
พฤศจิกายน จํานวน 348 ถุง ที่อยูในสภาพกลางเกากลางใหม เมื่อรวมทั้งหมดขณะนีพบซากศพ
                                                                                 ้
ทารกแลว 2,002 ถุง

More Related Content

06 1 ปัญหาการทำแท้ง

  • 1. ปญหาจริยธรรม การทําแทง หรือการยุติตั้งครรภเปนปญหา ทั้งทางสังคม ทางการแพทย และทางกฎหมายที่ มีความละเอียดออน และหลากหลายในประเด็นตางๆ ที่ยงเปนที่ถกเถียงกันในวงการตางๆ อยูอยาง ั ตอเนื่อง. ลาสุดไดมีขาวใหญที่ไดมีการจับกุมแพทยคนหนึ่งสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ ในการ ทําแทงที่คลินิกสวนตัว ซึ่งทันทีที่มีการจับกุม แพทยสภาก็ไดดําเนินการตรวจสอบ และพิจารณาใน เรื่องจริยธรรมของแพทย ดังกลาวทันทีการทําแทงนั้นสามารถกระทําไดโดยถูกกฎหมาย ในบาง กรณีตามประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งบัญญัติไวดังนี้ มาตรา 301 หญิงใดทําใหตนเองแทงลูกหรือ ยอมใหผูอื่นทําใหตนแทงลูก ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 302 ผูใดทําใหหญิงแทงลูกโดยหญิงนันยินยอมตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป ้ หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ ถาการกระทํานั้นเปนเหตุใหหญิงรับอันตรายสาหัสอยางอื่นดวย ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไม เกินเจ็ดป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถาการกระทํานั้นเปนเหตุใหหญิงถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และ ปรับไมเกินสองหมื่นบาท มาตรา 305 ถาการกระทําความผิดดังกลาว ในมาตรา 301 และมาตรา 302 นั้น เปนการ กระทําของนายแพทยและ (1) จําเปนตองกระทําเนื่องจากสุขภาพของ หญิงนัน หรือ ้ (2) หญิงมีครรภเนื่องจากการกระทําความผิดอาญาตามที่บัญญัติไวในมาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 282 มาตรา 283 หรือมาตรา 284 ผูกระทําไมมีความผิด ขณะนี้มีรางแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญามาตรา 305 ที่เสนอโดยกระทรวง สาธารณสุ ข ซึ่ ง กํา ลั ง รอเข า สู ก ารพิ จ ารณาของสภาผู แ ทนราษฎรอยู โดยมี ก ารแก ไ ข เพิ่ ม เติ ม ให แ พทย ส ามารถยุ ติ ก ารตั้ ง ครรภ ไ ด เ พิ่ ม จากเดิ ม อี ก โดยได บั ญ ญั ติ ใ ห ชั ด เจนว า สามารถกระทํา ได เ พื่ อ สุ ข ภาพจิ ต ของมารดา และ เพื่ อ สุ ข ภาพของทารกในครรภ ด ว ยซึ่ ง เป น กรณี ท่ี ห ลายๆฝ า ยเห็ น ว า ควรได รั บ การยกเว น ให ก ระทํา ได เพราะเป น ประโยชน ต อ ผู ป ว ย ซึ่ ง เป น หญิ ง ที่ ต้ั ง ครรภ แ ล ว มี ป ญ หา แต ข ณะที่ กา ลั ง รอร า งกฎหมายฉบั บ นี้ อ ยู ํ แพทยสภาก็ ไ ด มี ข อ บั ง คั บ ของแพทยสภาในเรื่ อ งการยุ ติ ก ารตั้ ง ครรภ ซึ่ ง ได ป ระกาศใน ราชกิ จ จานุ เ บกษา แล ว ดั ง นี้ ขอบังคับแพทยสภาวาดวย หลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตังครรภทางการแพทย ้ ตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2548
  • 2. อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (3) (ฎ) และดวยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษตาม มาตรา 25 แหงพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 อันเปนพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติ บางประการเกียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 50 ของ ่ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย คณะกรรมการแพทยสภาออกขอบังคับ ดังตอไปนี้ ขอ 1 ขอบังคับนี้เรียกวา "ขอบังคับแพทยสภาวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัตเิ กี่ยวกับการยุตการ ิ ตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2548" ขอ 2 ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ั ขอ 3 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญานั้น จะ กระทําไดเมื่อหญิงตั้งครรภน้นยินยอม ั ขอ 4 แพทยผูกระทําการยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามขอบังคับนี้ตองเปนผูประกอบ วิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมาย ขอ 5 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 (1) แหงประมวลกฎหมายอาญา ให เปนไปตามเงือนไขดังนี้ ่ (1) เปนกรณีที่จําเปนตองกระทําเนื่องจากปญหาสุขภาพทางกายของหญิงตั้งครรภ หรือ (2) เปนกรณีที่จําเปนตองกระทําเนื่องจากปญหาสุขภาพทางจิตของหญิงตั้งครรภ ซึ่งจะตอง ไดรับการรับรอง หรือเห็นชอบจากผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มิใชผูกระทําการยุตการตั้งครรภ ิ อยางนอยหนึ่งคนในกรณีที่หญิงนั้นมีความเครียดอยางรุนแรง เนื่องจากพบวาทารกในครรภ มีหรือ มีความเสี่ยงสูงที่จะมีความพิการอยางรุนแรง หรือเปนหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเปนโรคพันธุกรรม อยางรุนแรง เมื่อหญิงนั้นไดรับการตรวจวินิจฉัยและการปรึกษาแนะนําทางพันธุศาสตร (Genetic counseling) และมีการลงนามรับรองในเรื่องดังกลาวขางตนโดยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มิใช ผูกระทําการยุติการตั้งครรภอยางนอยหนึ่งคน ใหถือวาหญิงตั้งครรภนั้นมีปญหาสุขภาพจิตตาม (2) ทั้งนี้ตองมีขอบงชี้ทางการแพทยที่ชัดเจนวาหญิงนันมีปญหาสุขภาพทางกายหรือทางจิต และตองมี ้  การบันทึกการตรวจและวินิจฉัยโรคไวในเวชระเบียนเพือเปนหลักฐาน ่ ขอ 6 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามมาตรา 305 (2) แหงประมวลกฎหมายอาญานั้น ตองมีหลักฐานหรือขอเท็จจริงอันควรเชื่อไดวา หญิงตั้งครรภเนื่องจากการกระทําความผิดอาญา ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 305 (2) แหงประมวลกฎหมายอาญา ขอ 7 การยุติการตั้งครรภทางการแพทยตามขอ 5 และขอ 6 ตองกระทําในสถานพยาบาล ดังตอไปนี้ (1) โรงพยาบาลหรือหนวยงานของรัฐที่ใหบริการรับผูปวยไวคางคืน หรือสถานพยาบาลเวช กรรมที่มีเตียงรับผูปวยไวคางคืนตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล ทังนี้โดยสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับ ้ การยุติการตั้งครรภทางการแพทยไดตามความเหมาะสม
  • 3. (2) คลินิกเวชกรรมตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล โดยสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติ การตั้งครรภทางการแพทยทอายุครรภไมเกินสิบสองสัปดาห ่ี ขอ 8 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมทีปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภทางการแพทยตาม ่ ขอบังคับนี้จะตองทํารายงานเสนอตอแพทยสภา ตามเงือนไขและระยะเวลาในแบบฟอรมที่แพทย ่ สภากําหนด ขอ 9 ในกรณีท่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูกระทําการยุติการตั้งครรภทางการแพทยไม ี ปฏิบัติตามขอบังคับนี้ ใหถือวาผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมผูนั้นประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไม รักษามาตรฐานในระดับที่ดที่สุด ี ขอ 10 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมทีปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภทางการแพทยตาม ่ ขอบังคับนี้ ใหถือวาไดกระทําตามมาตรา 305 แหงประมวลกฎหมายอาญา สถานการณปจจุบันวัยรุนไทยทําแทงสูงที่สุดในโลก โดยพล.ต.ต.น.พ.ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ  (Online) Available:.http://www.tlcthai.com 18 March 2010) ศูนยสรางเสริมสุขภาพวัยรุนของ  โรงพยาบาลรามาธิบดี ประมาณการวาจะมีวัยรุนทําแทงถึงปละ 3 แสนคน หรือวันละราว 1,000 คน ซึ่งเปนเรืองนากลัวเพราะมันไดกลายเปนคานิยมใหมของวัยรุน ยิงเมื่อถามความคิดเห็นตอไปก็ ่ ่ ยิ่งหนาว เพราะ 4.2% บอกวาเคยคิดขายตัว และถาอนุมานกันจริง ๆ ก็คาดวามีเด็กกวา 15% คิดขาย ตัว เพราะมองวาเรื่องนี้ไมนาตําหนิ ขณะเดียวกันกองโรคเอดสของกระทรวงสาธารณสุขก็รายงาน วากวา 50% ของคนที่เปนโรคเอดสเปนวัยรุนอายุระหวาง 15-34 ป และสวนใหญเปนเพศหญิง สํานักวิจยเอแบค โพลสํารวจพฤติกรรมทางเพศของวัยรุนอายุ 15-25 ป จํานวน 1,627 คน ั  พบพฤติกรรมเชิงชูสาวกับบุคคลเพิ่งรูจักตามหางสรรพสินคา ผับ และเธค กลาวคือ วัยรุน 40.2% ยอมรับใหจับมือและโอบเอวได และมี 13.9% ที่บอกวายอมรับไดหากจะมีเพศสัมพันธกบคนที่เพิงั ่ รูจัก ที่นาตกใจคือ บุคคลที่ตอบคําถามครั้งนี้ระบุวาเคยผานการมีเพศสัมพันธถึง 42.4% โดยกวาครึง ่
  • 4. เคยมีเพศสัมพันธมากกวา 1 คน อดีตผูชวยรัฐมนตรีวีระศักดิ์ เคยทําวิจยแลวพบวา เด็กนักเรียนไทยระดับมัธยมกวา 50% มี  ั เพศสัมพันธโดยเฉพาะ “เซ็กซเอื้ออาทร” ระหวางเพื่อนจนกลายเปนคํานิยมของเด็กไทยแลวใน ขณะที่อีกการวิจัยหนึ่งพบวา ผูหญิง 29.9% เคยทําแทงตั้งแตอายุยังไมถึง 20 ป 2.7% เคยทําขณะ เปนนักศึกษา 70% มีเพศสัมพันธกอนอายุ 20 ป 5% มีเพศสัมพันธกอนอายุ 15 (ต่ําสุด 11 ขวบ) ในกลุมอายุ 15-23 ป มีพฤติกรรมแลกเปลี่ยนคูนอนเพิ่มขึน 50% ้ ในกรณีการดืมเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลนั้น วัยรุนไทยกับอเมริกันดื่มพอ ๆ กัน คือ 84 และ ่  78% ตามลําดับ และ วัยรุนไทยเสพยาบามากกวาอเมริกน 2 เทาตัว และดื่มแลวขับสูงกวาวัยรุน ั อเมริกัน 3 เทาตัว โดย 43% ไมสวมหมวกกันกระแทก สวนเรื่องตั้งครรภนั้น วัยรุนอเมริกาเคยตั้งทองรอยละ 5 ขณะทีวัยรุนไทยตั้งครรภสงกวา ่ ู รอยละ 10 จึงไมนาแปลกใจวาสถิติการทําแทงจะสูงตอไป เพราะไหนจะมีความสําสอนแลวยังมี การขมขืนมากขึ้น มีความหลงผิดของสาวยุคใหม คือเกิดความฟุงเฟอ หากินเปนโสเภณีชนสูงเปน ั้ เครื่องตอบสนองความใคร โดยขาดจิตสํานึกของการรักตัวเอง ขณะทีผูใหญมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ่ ชอบเด็กและใชเงินซื้อความสุขทางเพศ วัยรุนไทยจึงมีพฤติกรรมเสี่ยงที่นาหวงจนเกรงวากวาจะเติบใหญจะไมเหลือคนดี ๆ ไว  สรางชาติ ตางจากสมัย 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ซึ่งวัยรุนที่รวมพลังสรางชาติใหม สามารถเติบใหญเปนผูบริหารบานเมืองไทย คําถามมีวาวัยรุนยุคใหมจะเติบโตไปเปนผูบริหารที่ดี ๆ อยางรุนกอนหรือไม ถาคําตอบคือ  ไดกจะไดสบายใจ แตใครจะรับรองละ และถาคําตอบคือไม จะทําอยางไรดี ็ (Online) Available:.http://www.matichon.co.th 19 Novemer 2009) การตรวจสอบซากศพทารกที่เกิดจากการทําแทงนํามาเก็บไวรอเผาบริเวณ "ศาลาสันติสข" ุ สถานที่บรรจุศพวัดไผเงินโชตนาราม ถนนจันทน ซอย 43 แยก 22 แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม กทม. เพิ่มกวา 2,000 ศพแลว โดยเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ต.อ.สุคุณ พรหมายน รอง ผบก.น.5 พ.ต.อ.เมธี รักพันธุ ผกก.สน.วัดพระยาไกร พ.ต.อ.สมบัติ มิลินทจินดา ผกก.สืบสวน บก.น.5 พ.ต.อ.สุรเชษฐ หักพาล ผกก.3 บก.ปคม. ร.ต.อ.ขวัญชัย แปนมณฑา รอง สว.สส.สน.วัดพระยา ไกร แพทยนติเวชโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ตํารวจกอง พิสูจนหลักฐาน (พฐ.) สํานักนิติ ิ วิทยาศาสตร สํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งนายจุรินทร ลักษณวิศษฏ รัฐมนตรีวาการกระทรวง ิ  สาธารณสุข (สธ.) นพ.สมชัย ภิญโญพรพาณิชย อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) นาย บัณฑิต สิทธินามสุวรรณ ผูอํานวยการเขตบางคอแหลม และเจาหนาทีและอาสาสมัครมูลนิธิปอ ่ เต็กตึ๊งกวา 50 นาย มารวมกันตรวจสอบชองบรรจุศพที่ 9 และ 10 "ศาลาสันติสุข" ตามคําใหการของ นายสุชาติ หรือชาติดํา ภูมี อายุ 38 ป ผูชวยสัปเหรอ ผูตองหารวมกันซอนเรนทําลายศพ ที่รับ สารภาพวามีซากศพทารกใสไวอีกจํานวนมาก
  • 5. ทั้งนี้ ระหวางตรวจสอบมีประชาชนละแวกวัดและใกลเคียงนับรอยทยอยมาดู และทางวัดไดนา ํ นมกลอง กลวยน้ําวา พวงมาลัย มาวางเซนไหวบริเวณพืนปูนทางผานเขาไปที่ "ศาลาสันติสุข" และ ้ มีพระครูวิจิตร สรคุณ เจาอาวาสวัดไผเงินโชตนาราม รวมสังเกตการณอยูหางๆ นายจุรนทรกลาววา สั่งใหติดตามเฝาระวังตรวจสถานพยาบาลใหเขมแข็งขึ้นทั่วประเทศไมเฉพาะ ิ ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเชื่อวาการทําแทงจะทําในสถานพยาบาล 4 กลุมเสี่ยง ไดแก 1.คลีนิกเสริมความงาม 2.คลีนิกศัลยกรรม 3.คลีนิกบําบัดยาเสพติด 4.คลีนิกรับวางแผนครอบครัว แตไมไดหมายความวาสถานพยาบาลใน 4 กลุมเสี่ยงจะ กระทําผิดกฎหมายทั้งหมด และ มีความเปนไปไดทจะลักลอบทําแทงเถื่อนในสถานพยาบาลถูก ี่ กฎหมายดวย เบื้องตนตองตรวจสอบวามีใบอนุญาตเปดอยางถูกตองตามกฎหมายหรือไม ดังนั้น ประชาชนที่มีเบาะแส หรือขอมูลเกี่ยวกับคลีนิกที่ลักลอบทําแทง หรือกระทําผิดกฎหมาย แจงที่ตู ปณ.9 กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี 11000 หรือโทร.ที่สายดวน 1593 ตลอด 24 ชั่วโมง ผูส่อขาวรายงานวา เจาหนาที่มลนิธิปอเต็กตึ๊งและอาสาสมัคร ตรวจนับซากทารกจํานวนทั้ง ื ู  สองชองตั้งแตเวลา 10.00-15.20 น. รวมเวลา 5 ชั่วโมง โดยชองที่ 9 นับได 950 ถุง มีซากทารกแฝด ปะปน 1 ถุง และชอง 10 นับได 704 ถุง มีซากทารกแฝดปะปน 2 ถุง รวมทั้งหมดนับไดครั้งนี้ 1,654 ถุง ซึ่งซากทารกในแตละถุงมีสภาพเนาเปอยยุย สภาพถุงผิดกับชอง 17 ที่พบเมื่อวันที่ 16  พฤศจิกายน จํานวน 348 ถุง ที่อยูในสภาพกลางเกากลางใหม เมื่อรวมทั้งหมดขณะนีพบซากศพ ้ ทารกแลว 2,002 ถุง