ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กฎหมายการผังเมือง
สฤษดิ์ ติยะวงศ
์สุวรรณ (Ph.D.)
โครงสร้างกฎหมายที่๶กี่ยวྺ้องกับการบริหารจัดการผัง๶มือง
1) พรบ.การผังเมือง พ.ศ. 2518 (ฉบับที่ 1)
2525 (ฉบับที่ 2)
2535 (ฉบับที่ 3)
2558 (ฉบับที่ 4)
พรบ.การผังเมือง พ.ศ. 2562 (รัชกาลที่ 10)
2) กฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวัด
ผังเมืองรวมเมือง
*** ผังประเทศ ผังภาค และผังภูมิภาค เป็นผังนโยบาย
3) ข้อบัญญัติท้องถิ่น
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2562
โครงสร้างกฎหมายที่๶กี่ยวྺ้องกับการบริหารจัดการผัง๶มือง
การวางผังภาค
▪ เป็นการวางแผนและจัดทาแผนผังทาง
กายภาพที่ครอบคลุมพื้นที่ภาค อนุภาค
หรือพื้นที่ทรัพยากร เช่น พื้นที่ลุ่มน้า
▪ การวางผังภาคจะเป็นการวางแผนระยะยาว
ที่สะท้อนแนวนโยบาย ตามที่กาหนดใน
แผนชาติ
การวางผังเมืองรวม
▪ เป็นการวางและจัดทาแผนผังกายภาพ
ที่ครอบคลุมพื้นที่เมือง
▪ การวางผังเมืองจะกาหนดเป็นแผน
ระยะยาวในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของเมืองตามกรอบของบทบาท
หน้าที่ที่ได้รับการกาหนดจากแผนภาค
การวางผังโครงการ
▪ เป็นการวางและจัดทาแผนผังกายภาพ
โดยเฉพาะบริเวณใดบริเวณหนึ่งของ
เมืองเพื่อให้เป็นไปตามที่ผังเมืองรวม
ได้ให้มีบทบาทหน้าที่สาคัญที่ต้องการ
การออกแบบ วางผัง และพัฒนาเป็น
พิเศษ
ลาดับของแผนผัง
รายงานการศึกษาขั้นต้น
Inception Report โครงการปรับปรุงผังประเทศ
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2562
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
โครงสร้างกฎหมายที่๶กี่ยวྺ้องกับการบริหารจัดการผัง๶มือง
วิสัยทัศน์
ในอนาคต
ของการวางแผน
เชิงพื้นที่
แผนและผัง
มาตรการและกลไก
ในการดาเนินการให้
เป็นไปตามผัง
ชุดข้อมูลเชิงพื้นที่
GIS
Sieve Analysis
Technique
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
โครงสร้างกฎหมายที่๶กี่ยวྺ้องกับการบริหารจัดการผัง๶มือง
อนุญาติให้
มอบหมายเอกชน
ดาเนินการแทนได้
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
ขั้นที่ 1-2
ขั้นที่ 3
ขั้นที่ 4
ขั้นที่ 5
ขั้นที่ 6
ขั้นที่ 7-9
ขั้นที่ 10-18
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
http://www.hatyai-urbanplan.com/
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
แผȨังการกาหȨการใช้ประโยชȨที่ดิน
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
แผȨังที่โล่ง
แผนผังโครงการคมนาคม
และขนส่ง
วิชากฎหมายและการบริหารงานผังเมือง (09-052-310 2 หน่วยกิจ
แผนผังโครงการ
กิจการสาธารณูปโภค
แผนผังโครงการ
กิจการสาธารณูปโภค
เพื่อการระบายน้า
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
หลักการวางแผนผัง TOD
• กรอบแนวคิดด้านการกาหนด Land-use เมืองขอนแก่น
(ร่าง) ผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3
• ข้อกาหนด Land-use รอบพื้นที่ตั้งสถานี
• รายละเอียดข้อกาหนด FAR, BCR, OSR, ISR
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินผังเมืองรวม
สถานี Center Point สถานีโลตัส ศิลา
สถานี บขส.3
การวางผังคานึงถึงค่า FAR ของแต่ละย่านที่กฎกระทรวงผังเมืองรวมเมืองขอนแก่นกาหนดไว้เป็นสาคัญ
รายละเอียดข้อกาหนด FAR, BCR, OSR, ISR
การใช้ประโยชน์ที่ดิน FAR BCR OSR ISR
พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย
หนาแน่นมาก (แดง)
พ.1 = 6 : 1
พ.2 = 8 : 1
พ.1 ไม่เกินกว่า 70%
พ.2 ไม่เกินกว่า 70%
พ.1 ไม่น้อยกว่า 30%
พ.2 ไม่น้อยกว่า 30%
พ.1 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
พ.2 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
(แสด)
ย.4 = 3 : 1
ย.5 = 3.5 : 1
ย.4 ไม่เกิน 70%
ย.5 ไม่เกิน 70%
ย.4 ไม่น้อยกว่า 30%
ย.5 ไม่น้อยกว่า 30%
ย.4 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
ย.5 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
(เหลือง)
ย.1 สูงไม่เกิน 10 เมตร
ย.2 = 1.5 : 1
ย.3 = 2 : 1
ย.1 ไม่เกิน 60%
ย.2 ไม่เกิน 60%
ย.3 ไม่เกิน 70%
ย.2 ไม่น้อยกว่า 40%
ย.2 ไม่น้อยกว่า 40%
ย.3 ไม่น้อยกว่า 30%
ย.1 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
ย.2 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
ย.3 ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
ที่โล่งเพื่อนันทการและการรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อม (เขียวอ่อน)
ล. = 0.5 : 1 ล. ไม่เกิน 50% ล. ไม่น้อยกว่า 50% ล. ไม่น้อยกว่า 50% ของ OSR
สถาบันราชการ (น้าเงิน) ไม่มีข้อกาหนดไว้
เสนอแนะใช้ตามประเภท
พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย
หนาแน่นมาก
ไม่มีข้อกาหนดไว้
เสนอแนะใช้ตามประเภท
พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย
หนาแน่นมาก
ไม่มีข้อกาหนดไว้
เสนอแนะใช้ตามประเภท
พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย
หนาแน่นมาก
ไม่มีข้อกาหนดไว้
เสนอแนะใช้ตามประเภทพาณิช
ยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่น
มาก
รายละเอียดข้อกาหนด FAR การพัฒนาขั้นต่า
เปรียบเทียบกรณีศึกษาจาก CTOD
ประเภทสถานี / ข้อเสนอแนะ
แนวทางพัฒนา
ศูนย์กลางหลักภูมิภาค
(Regional Center) :
ย่านสถานี CenterPoint
ศูนย์ชุมชนเมืองสถานีขนส่ง
(Transit Town Center) :
ย่านสถานี บขส.3
ศูนย์กลางเมือง
(Urban Center) :
ย่านสถานีโลตัส เอ็กซ์ตร้า
รูปแบบการพัฒนาที่อยู่อาศัย
แบบผสมผสาม
อาคารสูง-ปานกลาง รูปแบบ
คอนโดมิเนียมและอพาร์
ทเมนท์
อาคารปานกลาง-ต่า อาจมี
อาคารสูงเล็กน้อยและทาวน์
โฮม
อาคารปานกลาง-ต่า ทาวน์
โฮม และห้องพัก สาหรับ
ครอบครัวเดี่ยว
เป้าหมายการจ้างงานในพื้นที่ 40,000-150,000 2,000-7,500 5,000-30,000
ความหนาแน่นของที่พักอาศัย
ใหม่ (หน่วย/ไร่)
30-120 8-30 20-60
ค่า FAR ในการพัฒนา
ต่าสุด
5.0 2.0 2.5
หลักการวาง
แผนผัง TOD
• การประยุกต์
ทฤษฎี และ
ข้อกาหนดผังเมือง
รวมเมืองขอนแก่น
เข้ากับบริบทเชิง
พื้นที่
ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละสถานี
สัดส่วนร้อยละหลักการ
TOD
FAR
BCR
(%)
OSR (%) ISR
ย่านสถานี Center Point
ศูนย์กลางพาณิชย์ 30 % 5-8 70 30 >50%OSR
สานักงาน 30 % 5-8 70 30 >50%OSR
ที่อยู่อาศัย 20 % 5-8 70 30
ที่ว่างเพื่อนันทนาการ 10 % 10 90 >50%OSR
พื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ 10 % 50 50 >50%OSR
สถานี บขส.3
ศูนย์กลางพาณิชย์ 20 % 2-6 70 30 >50%OSR
สานักงาน 20 % 2-6 70 30 >50%OSR
ที่อยู่อาศัย 40 % 2 60 40
ที่ว่างเพื่อนันทนาการ 15 % 10 90 >50%OSR
พื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ 5 % 50 50 >50%OSR
สถานีโลตัสเอ็กซ์ตร้า
ศูนย์กลางพาณิชย์ 20 % 2.5-6 70 30 >50%OSR
สานักงาน 15 % 2.5-6 70 30 >50%OSR
ที่อยู่อาศัย 50 % 2 70 30
ที่ว่างเพื่อนันทนาการ 10 % 10 90 >50%OSR
พื้นที่เพื่อสาธารณประโยชน์ 5 % 50 50 >50%OSR

More Related Content

08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf