บทที่ 1
- 2. การวิเคราะห์งาน (Job Analization)
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงาน
ให้คอมพิวเตอร์ทำานั้น สิ่งทีสำาคัญที่สด
่ ุ
ในการแก้ปัญหา จะต้องดำาเนินการตาม
ขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียง
ลำาดับขั้นตอนการทำางานว่าขันตอนใด
้
เป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้น
ตอนเป็นลำาดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้น
ตอนสุดท้าย
- 3. การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทำาเมื่อ
ต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สำาคัญ
ที่สด โดยจะต้องกำาหนดขอบเขตของงานหรือ
ุ
ปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหา วิเคราะห์
ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำา
อะไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไร รูปแบบของ
ข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการ
ผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษา
ผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนำาเข้า (Input) วิธีการ
ประมวลผล (Process) และการกำาหนดชื่อของ
ตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
- 4. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสำาคัญที่สดของ
ุ
การเขียนโปรแกรม เพื่อสังให้คอมพิวเตอร์
่
ทำางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตาม
ลำาดับดังนี้
สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้าง ๆ
ถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำางาน งาน
แต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดง
ผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้
ชัดเจนเป็นข้อ ๆ ในการพิจารณาสิงที่ต้องการ
่
อาจจะดูที่คำาสังหรือโจทย์ของงานนัน ๆ ว่า
่ ้
- 5. 2. ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึง
ลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบ
ของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์
แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการในรายงาน
หรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียน
โปรแกรมที่จะต้องกำาหนดรูปแบบว่างานที่ตองการ้
ให้คอมพิวเตอร์ทำานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร
เพื่อความสะดวกของผู้นำาผลลัพธ์ไปใช้ การ
วิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จำาเป็นและมีความสำาคัญ
และต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการ
วิเคราะห์รายงานจะทำาให้เราทราบจุดหมายที่
ต้องการ หรือเป็นการกำาหนดขอบเขตของงานที่
- 6. 3. ข้อมูลนำาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้อง
ทำาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ
หลังจากที่เราได้ลักษณะของ
รายงานแน่นอนแล้ว เราก็มา
พิจารณาว่าลักษณะของผลลัพธ์นั้น
จะต้องมีข้อมูลนำาเข้าอะไรบ้าง เพื่อ
ที่จะให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ในการ
พิจารณาข้อมูลนำาเข้านั้นจะต้องดู
- 8. 5. วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอน
ของวิธีการ หรือการคำานวณเพื่อให้
ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การ
สั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทำาการ
ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออก
มา ซึงเป็นขั้นตอนที่จะต้องแสดง
่
การทำางานทุกอย่างตามลำาดับ จึง
จำาเป็นจะต้องจัดลำาดับการทำางาน
ตามลำาดับก่อนหลังให้ละเอียดและ
- 9. ตัวอย่างที่ 1 จงวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาผล
รวมของเลข 1 - 100
1. สิ่งที่ต้องการ ผลรวมของเลข 1 - 100
2. รูปแบบผลลัพธ์ SUM OF 1 - 100 = XXXX
3. ข้อมูลนำาเข้า ตัวเลข 1 - 100
4. ตัวแปรที่ใช้
1) X = ค่าของตัวเลข 1 - 100
2) SUM = ผลรวม
5. วิธีประมวลผล
1) กำาหนดค่าผลรวมเป็น 0 (SUM = 0)
2) อ่านค่า X
3) คำานวณผลรวม SUM = SUM + X
4) ตรวจสอบว่า X = 100 หรือไม่
ถ้า X = 100 ให้ไปทำาข้อ 6
5) ย้อนกลับไปทำาข้อ 2
6) พิมพ์ค่าผลรวม
พิมพ์ “ SUM OF 1-100 = ”, SUM
7) จบการทำางาน
- 10. ตัวอย่างที่ 2 จงวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาผลรวม
และค่าเฉลี่ยของเลข 1-50
1. สิ่งที่ต้องการ ผลรวมและค่าเฉลี่ยของเลข 1 - 50
2. รูปแบบผลลัพธ์ SUM OF 1 - 50 = XXXX
3. ข้อมูลนำาเข้า ตัวเลข 1 - 50
4. ตัวแปรที่ใช้
1) X = ค่าของตัวเลข 1 - 50
2) SUM = ผลรวม
3) AVERAGE = ค่าเฉลี่ย
5. วิธีประมวลผล
1) กำาหนดให้ผลรวมเป็น 0 (SUM = 0)
2) อ่านค่า X
3) หาผลรวม (SUM = SUM + X)
4) ตรวจสอบ X ว่า = 50 หรือไม่
ถ้า X = 50 ให้ไปทำาข้อ 6
5) ย้อนกลับไปทำาข้อ 2
6) คำานวณค่าเฉลี่ย AVERAGE = SUM / 50
7) พิมพ์ “ SUM OF 1-50 = ”, SUM
8) พิมพ์ “ AVERAGE OF 1-50 = ”, AVERAGE
9) หยุดการทำางาน