เฟียเจท์ 1
- 2. ทฤษฎี เ กี ่ ย ว กั บ พั ฒ นาการ
เชาวน์ ป ั ญ ญาที ่ ผ ู ้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า มี
ประโยชน์ สำ า หรั บ ครู คื อ
ทฤษฎี ข องนั ก จิ ต วิ ท ยาชาว สวิ ส
ชื ่ อ เพี ย เจต์ (Piaget) ที ่ จ ริ ง แล้ ว
เพี ย เจต์ ไ ด้ ร ั บ ปริ ญ ญาเอกทาง
วิ ท ยาศาสตร์ สาขาสั ต วิ ท ยา ที ่
มหาวิ ท ยาลั ย Neuchatel ประเทศ
สวิ ส เซอร์ แ ลนด์
หลั ง จากได้ ร ั บ ปริ ญ ญาเอก
- 4. เพี ย เจต์ (Piaget) ได้ ศ ึ ก ษา
เกี ่ ย วกั บ พั ฒ นาการทางด้ า น
ความคิ ด ของเด็ ก ว่ า มี ข ั ้ น
ตอนหรื อ กระบวนการ
อย่ า งไร ทฤษฎี ข องเพี ย เจต์
ตั ้ ง อยู ่ บ นรากฐานของทั ้ ง
องค์ ป ระกอบที ่ เ ป็ น
พั น ธุ ก รรม และสิ ่ ง แวดล้ อ ม
- 5. เฟียเจท์อธิบายว่า การเรียนรู้ของ
เด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปญญา ั
ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็น
ลำาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิงที่เป็นไปตาม
่
ธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ขามจาก
้
พัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสูอีกขั้นหนึ่ง
่
เพราะจะทำาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การ
จัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของ
เด็กในช่วงที่เด็กกำาลังจะพัฒนาไปสู่ ขันที่
้
สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไป
- 8. •ขั ้ น ที ่ 1 ขั ้ น ประสาทรั บ รู ้ แ ละการเคลื ่ อ นไหว
(Sensorimotor)
แรกเกิ ด - 2 ขวบ
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม
ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่
ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติ
ปัญญาด้วยการกระทำา เด็กสามารถแก้ปญหาได้ ั
แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำาพูด เด็กจะต้องมี
โอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
- 9. •ขั ้ น ที ่ 2 ขั ้ น ก่ อ นปฏิ บ ั ต ิ ก ารคิ ด
(Preoperational) อายุ 18 เดื อ น - 7 ปี
เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์
ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติ
ปัญญา(Structure) ที่จะใช้สญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของ
ั
ที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็ก
วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำาต่างๆ
เพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด ขั้นนี้ แบ่งออกเป็นขั้นย่อย
อีก 2 ขั้น คือ
- 10. 1. ขั ้ น ก่ อ นเกิ ด สั ง กั ป (Preconceptual
Thought)
เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็น
ช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบืองต้น สามารถจะโยง
้
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์
หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและ
กัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำากัด
อยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือ
ถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็น
เหตุผลของผูอื่น ความคิดและเหตุผลของเด็ก
้
วัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก แต่
- 11. 2. ขั ้ น การคิ ด แบบญาณหยั ่ ง รู ้ นึ ก ออกเองโดยไม่
ใช้ เ หตุ ผ ล (Intuitive Thought)
เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้
เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวม
ตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่
ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปญหาเฉพาะหน้าได้
ั
โดยไม่คดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำาความรู้
ิ
ในสิงหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปญหาอื่นและ
่ ั
สามารถนำาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดย
ไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อน การคิดหาเหตุผล
- 12. •ขั ้ น ที ่ 3 ขั ้ น ปฏิ บ ั ต ิ ก ารคิ ด ด้ า นรู ป ธรรม (C oncrete
Operations)( อายุ 7 - 11 ปี )
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้
แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก เด็กวัยนีจะ้
สามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ ในการ แบ่งสิ่ง
แวดล้อมออกเป็นหมวดหมูได้ คือ เด็กจะสามารถทีจะอ้างอิง
่ ่
ด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น เด็กวัยนี้
สามารถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ
(Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและความ
สัมพันธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น
- 13. •ขั ้ น ที ่ 4 ขั้นปฏิบัติการคิึϸ้วยนามธรรม (Formal
Operations) อายุ 12 ปี ข ึ ้ น ไป
ในขั้นนีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็น
้
ของเด็กเป็นขั้นสุดยอด คือ เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็น
ผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสามารถทีจะคิด
่
หาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มอยู่ สามารถทีจะคิด
ี ่
เป็นนักวิทยาศาสตร์ สามารถทีจะตั้งสมมุติฐานและ
่
ทฤษฎีและเห็นว่าความจริงทีเห็นด้วยกับการรับรู้ไม่
่
สำาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งทีอาจเป็นไปได้(Possibility
่
- 14. พัฒนาการทางการรู้คดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปี
ิ
แรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็น
ประสบการณ์ สำาคัญที่เด็กควรได้รับการส่ง
เสริม มี 6 ขั้น ได้แก่
5.ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute D ifferences)
6.ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (O pposition)
7.ขั้นรู้หลายระดับ (D iscrete D egree)
8.ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation)
9.ขั้นรู้ผลของการกระทำา (Function)
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact
C om pensation)
- 15. กระบวนการทางสติ ป ั ญ ญามี ล ั ก ษณะดั ง นี ้
3)การซึมซับหรือการดูดซึม (assim ilation)
เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว
และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพือใช้ประโยชน์ต่อไป
่
2. การปรับและจัดระบบ (accom m od ation) คือ กระบวนการทาง
สมองในการปรับ
ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็น
ระบบ
3. การเกิดความสมดุล (equilibration)
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับ
เป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะมีความสมดุลขึ้น หากไม่
สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้
- 16. การนำ า ไปใช้ ใ นการจั ด การศึ ก ษา / การสอน
1 .เมือทำางานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำานึงถึงพัฒนาการทางสติ
่
ปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้
1 .1 )นักเรียนทีมอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติ
่ ี
ปัญญาทีแตกต่างกัน
่
1 .2)นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ
1 .2.1 > ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences)
จะเกิดขึ้นเมือนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กบ
่ ั
วัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อม โดยตรง
1 .2.2> ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์
(L ogicom athem atical experiences) จะเกิดขึ้น เมือ
่
นักเรียนได้พฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิด
ั
- 17. 2.หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทาง
สติปญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คอ
ั ื
1 .เน้นพัฒนาการทางสติปญญาของผู้เรียนโดยต้อง
ั
เน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด
2.เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความ
แปลกใหม่
3.เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ
4.เน้นกิจกรรมการสำารวจและการเพิ่มขยายความ
คิดในระหว่างการเรียนการสอน
5.ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities)
โดยการรับฟังความคิดเห็นของผูอื่นนอกเหนือจาก
้
ความคิดเห็นของตนเอง
- 18. 3.การสอนทีส่งเสริมพัոาการทางสติปัญญาྺองผู้เรียนควร
่
ดำาเนินการดังต่อไปนี้
1 ) ถามคำาถามมากกว่าการให้คำาตอบ
2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอยลง และฟังให้มากขึ้น
้
3) ควรให้เสรีภาพแก่นกเรียนทีจะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ
ั ่
4) เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำาถามหรือจัด
ประสบการณ์ให้นกเรียนใหม่
ั
5) ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงาน
พัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมเพื่อดูว่านักเรียนคิด
อย่างไร
6) ยอมรับความจริงทีว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการ
่
ทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน
่
7) ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิมขึ้นใน
่
- 19. 4.ในขันประเมินผล ควรดำาเนิน
้
การสอนต่อไปนี้
1 ) มีการทดสอบแบบการให้
เหตุผลของนักเรียน
2) พยายามให้นักเรียนแสดง
เหตุผลในการตอนคำาถามนั้น ๆ
3) ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมี
พัฒนาการทางสติปญญาตำ่า
ั
กว่าเพื่อร่วมชั้น