บทที่ 1
- 2. 1.ความสำา คัญ ของภาษาคอมพิว เตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (computer
language) เป็นสัญลักษณ์ทผู้พฒนาภาษา
ี่ ั
กำาหนดรหัสคำาสั่งขึ้นมา ใช้ควบคุมการทำางาน
อุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษา
คอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัสคำาสั่งอยูในรูปเลขฐาน
่
สอง จากนันพัฒนารูปรูปแบบเป็นข้อความภาษา
้
อังกฤษในยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มี
มากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่น
ด้านประสิทธิภาพคำาสั่งแตกต่างกันไป ดังนันผู้
้
สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคำาสั่ง
ทีมประสิทธิภาพควบคุมการทำางานตามต้องการ
่ ี
เพือเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่
่
ได้กำาหนดจุดประสงค์ไว้
- 3. 1.1 พัฒ นาการภาษาคอมพิว เตอร์
ช่ว งที่1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่อง
คำานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำางานลักษณะ
วงจรเปิด-ปิดแทนค่าด้วย0กับ1ผู้สร้างภาษาจึง
ออกแบบรหัสคำาสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า
ภาษาเครื่อง (Machine Language) ผู้ทจะเขียน
ี่
รหัสคำาสั่งควบคุมระบบได้จึงจำากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม
และใช้ในห้องปฏิบัติการทดลองดำาเนินงาน
- 4. ช่ว งที่2 จากช่วงแรกทีรหัสคำาสั่งเป็นชุด
่
เลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจำาชุดของ
รหัสคำาสั่งควบคุมการทำางาน จึงมีผู้พฒนารหัส
ั
คำาสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษร่วมกับเลขฐาน
อื่น เช่น เลขฐานสิบหกเพือให้เขียนคำาสั่ง
่
ควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่าแอสเซมบลี
หรือภาษาสัญลักษณ์(Assembly/Symbolic
Language) พร้อมกันนีต้องพัฒนาโปรแกรม
้
แปลภาษาขึ้นมาด้วย(Translator
program)คือโปรแกรมแอสเซม
เบอร์(Assembler) ใช้แปลรหัสคำาสั่งกลับมา
เป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบสามารถประมวล
ผลได้
- 5. ช่ว งที่3 เป็นช่วงทีบริษทหลายแห่งสร้าง
่ ั
ภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษาเน้นให้ใช้งาน
ง่ายขึ้นโดยรหัสคำาสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับภาษา
อังกฤษทีใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม
่
ภาษาระดับสูง(High Level Language) เช่นภาษา
เบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของโปรแกรม
แปลภาษามี2ลักษณะคือ อินเทอร์พรีตเทอร์ และคอม
ไพเลอร์
ช่ว งที่4เน้นเพิมประสิทธิภาพภาษา
่
คอมพิวเตอร์ให้นำาไปใช้ควบคุมการทำางานระบบ
คอมพิวเตอร์ทใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีสอสาร ภาษา
ี่ ื่
มีรูปแบบการเขียนรหัสคำาสั่งเป็นงานโปรแกรมเชิง
วัตถุ(Graphic User interface:GUI)ลดขั้นตอนการ
จดจำาเพื่อพิมพ์รหัสคำาสั่งมาเป็นการคลิกเลือกรายการ
คำาสั่ง และป้อนค่าควบคุม เช่นภาษีวิชวลเบสิ
ก(Visual Basic) ภาษาจาวา(JAVA)
- 6. 1.2 ตัว อย่า งภาษาระดับ สูง ทีไ ด้ร ับ ความ
่
นิย มใช้ง านมีด ัง นี้
1.2.1 ภาษาเบสิก
(BASIC:Beginner’s All-purpose Symbolic
Instruction code)
เป็นภาษาในระยะเริ่มแรกทีพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้
่
ในห้องปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา เพือฝึก ่
ทักษะการเขียนรหัสคำาสั่งควบคุมการทำางานของ
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กคือไมโครคอมพิวเตอร์
- 7. 1.2.2 ภาษาโคบอล (COBOL:Common
Business Oriented Language )เป็นภาษาในยุค
แรกทีมสักษณะโปรแกรมเชิงโคลงสร้าง ช่วงต้นของ
่ ี
ภาษาได้รับการออกแบบรหัสคำาสั่งเพือควบคุมการ
่
ทำางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และ
มินิ ต่อมาจึงปรับรูปแบบคำาสังให้ใช้กับไมโคร
่
คอมพิวเตอร์ได้
- 9. 1.3ตัว แปลภาษาคอมพิว เตอร์(Translator
Programe)
การเขียนรหัสคำาสั่งควบคุมการทำางานระบบ
ด้วยภาคอมพิวเตอร์ใดๆก็ตาม ทีมใช่ภาษาเครื่อง ระบบ
่ ิ
จะไม่สามารถประมวลผลได้ทนทีเพราะการทำางานของ
ั ่
ระบบเป็นรหัสคำาสั่งให้เป็นรหัสเลขฐาน 2 ด้วย
โปรแกรมแปลรหัสคำาสังภาคอมพิวเตอร์มการทำางาน 3
่ ี
ลักษณะคือ
- 10. 1.3.1โปรแกรมแปลภาแบบแอสเซมเบลอร์
ใช้แปลรหัสคำาสั่งเฉพาะภาษาแอสเซมบลีให้เป็นเลข
ฐานสอง
1.3.2โปรแกรมแปลภาแบบคอมไพเลอร์
ลักษณะการแปลคือ แปลคำาสั่งทังโครงสร้างโปรแกรม
้
แล้วจึงแจ้งข้อผิดพลาดทั้งหมดเพือแก้ไข จากนันต้อง
่ ้
ประมวลผลใหม่ หากไม่มข้อผิดพลาดจะสร้างแฟ้ม
ี
โปรแกรมใหม่อัตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่อง ภายหลังเมือ
่
เรียนใช้โปรแกรมนี้ เครื่องจะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่
สร้างไว้นั้น จึงไม่ต้องเริ่มแปลรหัสใหม่
1.3.3โปรแกรมแปลภาแบบอิน เทอร์พ รีต
เตอร์ ลักษณะการแปลคือ แปลรหัสทีละคำาสั่ง เมื่อพบ
ข้อผิดพลาดจะหยุดทำางาน แล้วจึงแจ้งข้อผิดพลาดได้
ทราบเพือแก้ไข จากนันประมวลผลใหม่ จนกว่าจะไม่มี
่ ้
- 11. 1.4การเลือ กใช้ภ าคอมพิว เตอร์
1.พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคำาสังงาน
่
แต่ละภาษา เปรียบเทียบกับลักษณะงาน
2.พิจารณาลักษณะการประมวลผล
3.พิจารณาคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ และรุ่น
ของระบบปฏิบัติการทีใช้ควบคุม
่
4.ควรเลือกภาทีทมงานพัฒนาระบบงาน
่ ี
โปรแกรมมีความชำานาญอยู่แล้ว เพือไม่ต้องเสียเวลา
่
เริ่มต้นเรียนรู้ภาษาใหม่
- 12. 5.ควรเป็นภาษาทีมลักษณะเป็นโครงสร้าง มี
่ ี
ความยืดหยุนสูง อำานวยความสะดวกในการ
่
ปรับปรุงพัฒนาระบบงานในอนาคต
6.หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่อง
การเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือกภาคอมพิวเตอร์ทมี
ี่
ประสิทธิภาพในเรื่องนีด้วย
้
7.พิจารณางบประมาณใช้จัดหาคอมพิวเตอร์
ทีมลิขสิทธิ์ถูกต้องมาใช้งาน
่ ี
8.เป็นภาคอมพิวเตอร์ทได้รับความนิยมใช้
ี่
งานทัวไปเพือศึกษารวบรวมข้อมูล
่ ่
- 13. 2. การพัฒ นาระบบงานทาง
คอมพิว เตอร์
การพัฒ นาระบบงาน (System
Development) เป็นกระบวนการพัฒนา
ระบบงานเดิม ให้เป็นระบบการทำางานแบบ
ใหม่ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทำางานมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น สำาหรับการพัฒนา
ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหา
อุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพือนำามา
่
ใช้งานแล้วยังต้องจัดหาโปรแกรมประยุกต์
งานมาใช้ในการดำาเนินงานอีกด้วย
- 15. 2.1 ขั้น กำา หนดขอบเขตปัญ หา (Problem
Definition)
เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงาน
เดิม เพือพัฒนาเป็นระบบงานใหม่ อาจวิเคราะห์
่
งานจากผลลัพธ์ เช่นรูปแบบรายงาน เพือ ่
วิเคราะห์ส่วกรณีเป็นระบบงานใหญ่ ความซับใช้
นทีเกียวข้องต่อไป เช่น สมการที่
่ ่
คำานวณ การนำาเข้าข้อมูลทีใช้ประมวลผล
่
ซ้อนของงานย่อมมากขึ้น อาจเริ่มจากศึกษา
สภาพปัญหา โดยรวบรวมข้อมูลปัญหาและ
ความต้องการต่างๆ จากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้
บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อสรุปและศึกษา ความ
เป็นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานใหม่
- 16. 2.2 ขั้น วางแผนและการออกแบบ (Planing &
Dedsign)
ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะห์ลำาดับการทำางานมี
หลายวิธีให้เลือกใช้เช่น วิธีลอการิทม วิธีซูโดโคด วิธี
ึ
ผังงาน สำาหรับขั้นตอนการออกแบบระบบ เช่น การ
ออกแบบรูปแบบการแสดงผล การออกแบบรูปแบบ
การนำาเข้าข้อมูลมีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้
•จำานวนและประเภทเนื้อหาข้อมูลต้องมีเพียงพอ ครบ
ถ้วนสมบูรณ์ นำาเสนอเฉพาะข้อมูลทีเกียวข้องกันและ
่ ่
แยกกัน
•รูปแบบการนำาเสนอข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบทีผู้ใช้
่
ระบบเข้าใจง่าย
•รูปแบบแสดงผล คำานึงว่าเป็นการแสดงผลรายงาน
ทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เพาะการกำาหนดรูปแบบ
และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน
- 17. 2.3 ขั้น ดำา เนิน การเขีย นคำา สั่ง งาน (Codling)
เป็นขั้นตอนเขียนคำาสั่งควบคุมงาน ด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่
กำาหนดไว้ ต้องลำาดับคำาสั่งสามขั้นตอนทีวิเคราะห์
่
ไว้ สำาหรับขั้นตอนการเขียนคำาสั่ง มีแนวทางการ
ดำาเนินงาน ดังนี้
•จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงาน
เอง มีข้อดี ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ตามต้องการ
•จัดซื้อโปรแกรมสำาเร็จรูป ข้อดีคือ มีโปรแกรมที่นำา
มาใช้กบงานได้ทนที งานขององค์กรไม่หยุดชะงัก
ั ั
และมีบริการอบรมการใช้โปรแกรม
- 18. 2.4ขั้น ทดสอบและแก้ไ ขโปรแกรม
(Testing & Debugging)
การทดสอบการทำางานของโปรแกรมแบ่ง
เป็น2ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยผู้พฒนาระบบ
ั
งานเอง ทดสอบเพือหาข้อผิดพลาดจากการใช้
่
ไวยากรณ์คำาสั่ง และวิเคราะห์เปรียบเทียบผลลัพธ์
งานกับจุดประสงค์ของงาน หากไม่มข้อผิดพลาด
ี
ใดๆ จึงส่งมอบการทดสอบอีกช่วงคือ ทดสอบโดย
ระบบจริง
ทังนีข้อผิดพลาดทีเกิดจาการทดสอบ โดย
้ ้ ่
สรุปมี 2 รูปแบบคือ
•ข้อผิดพลาดทีเกิดจากการใช้คำาสั่งผิดรูปแบบ
่
•ข้อผิดพลาดทีเกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งาน
่
ผิด
- 19. 2.5ขั้น จัด ทำา คู่ม อ ระบบ (Documenrtation)
ื
เมือโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผู้พฒนาระบบจะต้อง
่ ั
รวบรวมเอกสารเพือจัดทำาคู่มอการใช้ระบบงานซึ่งมี
่ ื
ความสำาคัญมาก เพราะเปรียบเสมือนกับพิมพ์เขียว
ของบ้าน คู่มอระบบมีหลายแบบ เช่น
ื
•คู่มอสำาหรับผู้ใช้ระบบ (User Doc.) เป็นส่วน
ื
อธิบายขั้นตอนการทำางานของระบบเพือให้ผู้ใช้
่
ระบบเรียนรู้การทำางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วน
ต่างๆ
•คู่มอระบบงาน (System Doc.) จัดทำาสำาหรับผู้
ื
ดูแลผู้ดูแลระบบ เช่น ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม
การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน
- 20. 2.6 ขั้น การติด ตั้ง (Implementation)
เป็นขั้นตอนนำาระบบใหม่ทผ่านการทดสอบ
ี่
และได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผู้ใช้ระบบว่า
สามารถนำามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางการ
ใช้ระบบใหม่ ดังนี้
•ติดตั้งระบบแบบหยุดรับงานเดิมทั้งหมด และใช้
ระบบงานใหม่ทนที วิธีนสะดวกกับผู้ใช้คือ ทำางาน
ั ี้
ระบบงานเดียว แต่มความเสี่ยงสูง หากระบบงาน
ี
ใหม่มปัญหา จะไม่สามารถใช้งานระบบใดได้เลย
ี
•ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน เป็นการทำางาน 2 ระบบ
ในคราวเดียวกัน เพือป้องกันปัญหาทีอาจเกิดขึ้นกับ
่ ่
ระบบงานใหม่ ยังคงมีระบบงานเดิมสำารองความผิด
พลาดที่ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็นการเพิ่ม
ภาระงานของผู้ใช้ระบบทีต้องทำางานทั้ง 2 ระบบ
่
จนกว่าจะแน่ใจว่าระบบงานใหม่ สามารถใช้รองรับ
การทำางานได้โดยไม่มข้อผิดพลาดใดๆ
ี
- 22. เป็นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยู่
มนสภาพพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุทต้อง ี่
บำารุงรักษา ดังนี้
•การบำารุงรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถูกต้อง
เป็นข้อผิดพลาดทีเกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ข้อมูล
่
จริงในระบบงาน ซึ่งตรวจสอบไม่พนในขั้นการ
้
ทดสอบระบบ
•การบำารุงรักษาด้วยการปรับปรุงให้ดีขึ้น เป็นการ
ปรับระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับ
ระบบงานกรณีผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุง
คำานวณภาษีทมการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย
ี่ ี
ของรัฐ
•การบำารุงรักษาด้วยการป้องกัน เช่น ป้องกันการ
เกิดความสูญหายของข้อมูลทีอาจเกิดจากระบบ
่
ไฟฟ้า การทำาระบบสำารองข้อมูล การป้องกันไวรัส
คอมพิวเตอร์ การบุกรุกข้อมูล
- 23. 3. แนวทางสร้า งโปรแกรมประยุก ต์ง าน
3.1 ขั้น วิเ คราะห์ร ะบบงานเบื้อ งต้น
อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบ
รายงานของระบบงานนัน เพื่อวิเคราะห์ยอนไปถึงทีมา
้ ้ ่
ของข้อมูลคือสมการคำานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องป้อน
เข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการวิเคราะห์ระบบ
งานเบื้องต้นโดยสรุปวิธีมขั้นตอนย่อยดังนี้ 1) สิงที่
ี ่
ต้องการ 2) สมการคำานวณ 3) ข้อมูลนำาเข้า 4) การ
แสดงผล 5)กำาหนดคุณสมบัติตัวแปร และ 6) ลำาดับ
ขั้นตอนการทำางาน
- 24. 3.2 ขั้น วางแผนลำา ดับ การทำา งาน
มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทม ซูโคโคด ผัง
ึ
งาน ต่างมีจุดประสงค์เพือแสดงลำาดับขั้นตอน
่
กระบวนการแก้ปัญหางานเพือให้ได้ผลลัพธ์ตาม
่
ต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคำาสั่ง และ
กรณีโปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับ
3.3 ขั้น ดำา เนิน การเขีย นโปรแกรม
ตรวจสอบทีขั้นตอนนีได้
่ ้
เป็นขั้นตอนเขียนคำาสั่งควบคุมตามลำาดับ
การทำางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการ
วางแผนลำาดับการทำาวาน ขั้นตอนนีต้องใช้คำาสัง
้ ่
ให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้
งานคำาสั่ง ทีแต่ละภาษาได้กำาหนดไว้
- 25. กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็น
คนเดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบ
ไวยากรณ์คำาสั่งงาน และทดสอบโดยใช้ข้อมูลจริง
เพือตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีทผู้สร้างระบบงาน
่ ี่
และผู้ใช้ระบบงานมิใช่คนเดียวกัน การทดสอบระบบ
จะมี 2 ช่วง คือ ทดสอบโดยผู้สร้างระบบงาน เมือ ่
ไม่มข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นทก
ี
สอบ หากมีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงาน
เป็นผู้ทดสอบ หากข้อผิดพลาดใดจะถูกส่งกลับไปให้
3.5ขั้น เขีย นเอกสารประกอบ
ผู้สร้าเมือโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพาจะถูก างาน
งระบบงาน แก้ไข และตรวจสอบจนกว่ธ์การทำ
่
ถูกต้อง ส่งองจัดทำาเอกสารประกอบการใช้โปรแกรมด้วย
แล้วจึง ต้ มอบระบบงาน
คู่มอระบบงานทีง่ายทีสุดคือ รวบรวมเอกสารทีจัดทำาจาก
ื ่ ่ ่
3.1-3.4 มารวมเล่ม นอกนั้นอาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธี
ใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีป้อนข้อมูล หรืออาจมีวิธี
ติดตั้งโปรแกรมระบบงาน รวมทังคุณสมบัติเครื่อง
้
คอมพิวเตอร์ทสามารถนำาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
ี่
- 26. รลำา ดับ ขั้น ตอนงานด้ว ยผัง งาน
ในที่นกล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ทใช้ในการเขียนผังงาน
ี้ ี่
โปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
ตารางที่ 1.1 สัญลักษณ์ ผังงานโปรแกรม หน้าที่การใช้งาน
ลำาดั สัญลัก
ษณ์ ชื่อสัญลักษณ์
บ
1 Terminal เริ่มต้น หรือสิ้น
symbol สุดการทำางาน
2 Processing ประมวลผล
symbol
3 Decision แสดงการตัดสิน
Symbol ใจหรือเปรียบ
เทียบ
4 Input/outpu รับ/แสดงผล
t Symbol ข้อมูล โดยไม่
ระบุอุปกรณ์
5 Manual รับข้อมูลจาก
input แป้นพิมพ์
Symbol
- 27. 8 Connect จุดต่อเนื่องการ
Symbol ทำางาน ต่อหน้า
อื่น
9 Connect จุดต่อเนื่องการ
Symbol ทำางาน หน้า
เดียวกัน
10 Connect จุดรวมการเชื่อม
Symbol ต่อ
11 Preparation กำาหนดค่าเริ่ม
Symbol ต้นรอบวนซำ้า
12 Subroutine การทำางานย่อย
processing
13 Flow line เส้นทางกิจกรรม
คำาสั่ง
- 28. 4.2 หลัก ในการเขีย นผัง งาน
ข้อแนะนำาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อ่านระบบงาน
ใช้ศกษา ตรวจสอบลำาดับการทำางานได้ง่ายไม่สับสน มี
ึ
แนวทางปฏิบัติดังนี้
1.ทิศทางการทำางานต้องเรียงลำาดับตามขั้นตอนที่ได้
วิเคราะห์ไว้
2.ใช้ชอหน่วยความจำา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอน
ื่
ทีได้วิเคราะห์ไว้
่
3.ลูกศรกำากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเท่นน ั้
5.ต้องไม่มลูกศรลอยๆ โดยไม่มการต่อจุดการทำางาน
ี ี
ใดๆ
6.ใช้สญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
ั
7.หากมีคำาอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของ
สัญลักษณ์นน ั้
- 29. 4.3 ประโยชน์ข องผัง งาน
1.ทำาให้มองเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด
โดยใช้เวลาไม่มาก
2.การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนำาไป
เขียนคำาสั่งได้ทกภาษา
ุ
3.สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของ
โปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
- 31. 4.4.การเขีย นผัง งานแบบมีท างเลือ กการ
ทำา งาน แสดงขั้นตอนการทำางานที่มีลักษณะ
กำาหนดเงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุปว่าจริง
หรือเท็จ เพือเลือกทิศทางประมวลผลคำาสั่งทีได้
่ ่
กำาหนดไว้ เช่น
- 32. 4.4.3 การเขีย นผัง งานแบบตรวจสอบเงือ นไข ่
ก่อ นวนซำ้า แสดงขั้นตอนการทำางานที่มีลักษณะ
กำาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพือ ่
เลือกทิศทางการวนซำ้า หรือออกจากการวนซำ้า เช่น
- 33. 4.4.4การเขีย นผัง งานแบบตรวจสอบ
เงื่อ นไขหลัง วนซำ้า แสดงขั้นตอนการทำางานที่มี
ลักษณะทำางานก่อนหนึงรอบ แล้วจึงกำาหนด
่
เงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือก
ทิศทางการวนซำ้าหรือออกจากการวนซำ้า เช่น
- 34. สมาชิก
1.นายสหรัฐ สาระนัย
เลขที่ 3
2.นายณัฎฐกรณ์ แผนกุล
เลขที่ 7
3.นางสาวสุภลักษณ์ แย้มโอษฐ
เลขที่ 17
4.นางสาวกัญญาณัฐ พ่วงปาน
เลขที่ 29
5.นางสาวทิมาพร มั่นใจ
เลขที่ 32
6.นางสาววรรณิศา กระดี่