ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1
‘พูดเกง’ ไมสําคัญ สําคัญที่ตอง ‘พูดเปน’
ตอนที่ 1: พูดนอย แตไดมาก
โดย ศิริรัตน ศิริวรรณ วิทยากร, Results Certified Coach
เปนที่ทราบกันดีวา การสื่อสารเปนทักษะที่มีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับผูบริหารทุกระดับ
ผูบริหารใชเวลากวา 80% ของเวลาทั้งหมดในการสื่อสาร การสื่อสารที่ทรงพลังสามารถสราง
การเปลี่ยนแปลงไดมหาศาล ทักษะการสื่อสารใหเขาถึงจิตใจ สรางแรงบันดาลใจ และกระตุนให
คนเกิดความตองการ มีความรูสึกรวม และใหการสนับสนุน เปนทักษะที่ผูบริหารทุกคน ทุก
ระดับจําเปนตองมี
ผูบริหารหลายทานพูดเกงราวกับนักพูด แตการพูดเกงนั้นไมสําคัญหากพูดแลวไมไดใจผูฟง ไม
สามารถทําใหผูฟงมีอารมณรวมดวยได บางคนพูดนอย แตสรางผลกระทบมาก ดังนั้น คําพูด
เปน 1000 คํา แตไมมีแกนสารสําหรับผูฟง ยอมไรความหมายเมื่อเทียบกับการพูดเพียง 10 คํา
ที่ชัดเจน เฉพาะเจาะจง และเขาถึงอารมณความรูสึกของผูฟง
‘พูดเกง’ ไมสําคัญ สําคัญที่ตอง ‘พูดเปน’
การพูดเปน คือการ ‘พูดนอย แตไดมาก’ (Less is More) หมายถึง ทุกคําพูดที่ออกมาตองมี
ความหมาย สงผานอารมณความรูสึก และสรางผลกระทบแกผูฟง ทําใหผูฟงมีอารมณรวม และ
ใหการสนับสนุน การพูดนอย แตไดมาก มีแนวทางปฏิบัติ ดังตอไปนี้
 พูดใหกระชับ เฉพาะเจาะจง และใสใจผูฟง
ผลการศึกษาดานสมองชี้ใหเห็นวาสมองสวนการคิด และการตัดสินใจของมนุษยมี
ปริมาตรเล็กมากเมื่อเทียบกับสมองทั้งหมด ในการทํางานตองใชพลังงานและทรัพยากร
จํานวนมหาศาล การใหขอมูลที่มากเกินไปทําใหสมองของผูฟงทํางานหนัก และ
ประสิทธิภาพการทํางานลดลง ผูฟงไมสามารถจดจําขอมูลที่มีปริมาณมากได ผูพูดให
2
ขอมูลไปมาก แตกลับสรางผลกระทบไดเพียงเล็กนอย (More is Less) ไมเกิดประโยชน
อะไร
การพูดที่มีประสิทธิผลจึงตองจํากัดปริมาณขอมูลใหเหมาะสมกับผูฟง หรือกลุมผูฟง
รวมถึงระยะเวลาในการพูด เนนไปที่ประเด็น และสาระสําคัญที่มีความเฉพาะเจาะจง
ตรงกับความตองการและความสนใจของผูฟง ผูพูดจําเปนตองวิเคราะหกอนวาผูฟง
ตองการไดยินอะไร ขอมูลอะไรจึงจะตรงกับความชอบ และสอดคลองกับสไตลการเรียนรู
คําพูดที่ออกมาตองผานการกลั่นกรอง รักษาหนาและความมั่นใจในตนเองของผูฟง
สงเสริมความสัมพันธอันดีกับผูฟง
 การพูดโดยใชคําถามที่ทรงพลัง
การพูดไมจําเปนตองทําโดยการบอกเลาเทานั้น การพูดสามารถทําโดยวิธีการตั้งคําถาม
การตั้งคําถามที่ทรงพลังสามารถตรึงผูฟงใหใหความสนใจอยางตอเนื่องไมแตกตางจาก
การบอกเลา หรืออาจทรงพลังมากกวา เพราะคําถามที่ทรงพลังจะกระตุนการใชสมอง
ของผูฟงใหคิด สํารวจ และทําความเขาใจดวยตนเอง โดยผูพูดไมตองใชคําพูดโนมนาว
คําถามที่ทรงพลังยังกระตุนผูฟงใหใชความคิดสรางสรรค และแสวงหาทางออกใหมๆ ทํา
ใหการสนทนามีความเขมขน สรางการมีสวนรวม และบรรยากาศการทํางานแบบรวม
แรงรวมใจไดดี ผูพูดยังสามารถใชคําถามที่นาสนใจเพื่อเปดประเด็นการสนทนาได
3
 การพูดโดยยกตัวอยางประกอบ การเลาเรื่องที่นาสนใจ การเปรียบเทียบ
อุปมาอุปไมย
ปกติแลว ผูฟงมักจดจําสิ่งที่รับฟงไปไมไดมากนัก เหมือนตอนไปชมภาพยนตร เราออก
จากโรงภาพยนตรดวยความประทับใจ แตถามวา จดจําคําพูดอะไรในภาพยนตรไดบาง
เรากลับนึกคําพูดจริงๆไมออก แตเราจะจดจําสีหนา ทาทาง การแสดงของนักแสดงได
การยกระดับคําพูดใหนาจดจํา และเขาถึงจิตใจผูฟงจึงเปนสิ่งจําเปน การพูดดวยการ
ยกตัวอยาง การเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมยจะชวยใหผูฟงเขาใจสิ่งที่พูดไดชัดเจนขึ้น
และจดจําไดมากกวา หรือการเลาเรื่องที่สอดคลองกับประเด็นที่ตองการจะสื่อสาร อาจ
เปนเรื่องจริง เรื่องเลา หรือนิทาน จะชวยดึงความสนใจของผูฟงไดดี
การฝกฝนตนเองใหพูดนอย แตสรางผลกระทบไดมากไมใชเรื่องยาก อยูที่ความมุงมั่น ตั้งใจ
คําพูดมักออกจากความคิด ผูพูดจึงควรระมัดระวังความคิดของตนเองไมใหฟุงซาน หรือกระจัด
กระจายเกินไป คอยๆคิดทีละเรื่อง ใหความตองการของผูฟงเปนศูนยกลาง จัดระบบความคิด
โดยเขียนความคิดลงบนกระดาษ อาจใชเครื่องมือชวยเชน Mind Map ในการสรางความ
เชื่อมโยง หากทานสามารถจัดระบบความคิดของทานใหงายได การพูดของทานยอมจะกระชับ
ชัดเจน เขาใจงาย และเขาถึงจิตใจผูฟงมากขึ้นคะ
สําหรับในตอนหนา บทความ ‘พูดเกง’ ไมสําคัญ สําคัญที่ตอง ‘พูดเปน’ ตอนที่ 2 เปนเรื่องของ
การวิเคราะหผูฟง อยาลืมติดตามอานกันนะคะ

More Related Content

'พูดเก่ง' ไม่สำคัญ สำคัญที่ต้อง 'พูดเป็น' ตอนที่ 1 พูดน้อย แต่ได้มาก โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ

  • 1. 1 ‘พูดเกง’ ไมสําคัญ สําคัญที่ตอง ‘พูดเปน’ ตอนที่ 1: พูดนอย แตไดมาก โดย ศิริรัตน ศิริวรรณ วิทยากร, Results Certified Coach เปนที่ทราบกันดีวา การสื่อสารเปนทักษะที่มีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับผูบริหารทุกระดับ ผูบริหารใชเวลากวา 80% ของเวลาทั้งหมดในการสื่อสาร การสื่อสารที่ทรงพลังสามารถสราง การเปลี่ยนแปลงไดมหาศาล ทักษะการสื่อสารใหเขาถึงจิตใจ สรางแรงบันดาลใจ และกระตุนให คนเกิดความตองการ มีความรูสึกรวม และใหการสนับสนุน เปนทักษะที่ผูบริหารทุกคน ทุก ระดับจําเปนตองมี ผูบริหารหลายทานพูดเกงราวกับนักพูด แตการพูดเกงนั้นไมสําคัญหากพูดแลวไมไดใจผูฟง ไม สามารถทําใหผูฟงมีอารมณรวมดวยได บางคนพูดนอย แตสรางผลกระทบมาก ดังนั้น คําพูด เปน 1000 คํา แตไมมีแกนสารสําหรับผูฟง ยอมไรความหมายเมื่อเทียบกับการพูดเพียง 10 คํา ที่ชัดเจน เฉพาะเจาะจง และเขาถึงอารมณความรูสึกของผูฟง ‘พูดเกง’ ไมสําคัญ สําคัญที่ตอง ‘พูดเปน’ การพูดเปน คือการ ‘พูดนอย แตไดมาก’ (Less is More) หมายถึง ทุกคําพูดที่ออกมาตองมี ความหมาย สงผานอารมณความรูสึก และสรางผลกระทบแกผูฟง ทําใหผูฟงมีอารมณรวม และ ใหการสนับสนุน การพูดนอย แตไดมาก มีแนวทางปฏิบัติ ดังตอไปนี้  พูดใหกระชับ เฉพาะเจาะจง และใสใจผูฟง ผลการศึกษาดานสมองชี้ใหเห็นวาสมองสวนการคิด และการตัดสินใจของมนุษยมี ปริมาตรเล็กมากเมื่อเทียบกับสมองทั้งหมด ในการทํางานตองใชพลังงานและทรัพยากร จํานวนมหาศาล การใหขอมูลที่มากเกินไปทําใหสมองของผูฟงทํางานหนัก และ ประสิทธิภาพการทํางานลดลง ผูฟงไมสามารถจดจําขอมูลที่มีปริมาณมากได ผูพูดให
  • 2. 2 ขอมูลไปมาก แตกลับสรางผลกระทบไดเพียงเล็กนอย (More is Less) ไมเกิดประโยชน อะไร การพูดที่มีประสิทธิผลจึงตองจํากัดปริมาณขอมูลใหเหมาะสมกับผูฟง หรือกลุมผูฟง รวมถึงระยะเวลาในการพูด เนนไปที่ประเด็น และสาระสําคัญที่มีความเฉพาะเจาะจง ตรงกับความตองการและความสนใจของผูฟง ผูพูดจําเปนตองวิเคราะหกอนวาผูฟง ตองการไดยินอะไร ขอมูลอะไรจึงจะตรงกับความชอบ และสอดคลองกับสไตลการเรียนรู คําพูดที่ออกมาตองผานการกลั่นกรอง รักษาหนาและความมั่นใจในตนเองของผูฟง สงเสริมความสัมพันธอันดีกับผูฟง  การพูดโดยใชคําถามที่ทรงพลัง การพูดไมจําเปนตองทําโดยการบอกเลาเทานั้น การพูดสามารถทําโดยวิธีการตั้งคําถาม การตั้งคําถามที่ทรงพลังสามารถตรึงผูฟงใหใหความสนใจอยางตอเนื่องไมแตกตางจาก การบอกเลา หรืออาจทรงพลังมากกวา เพราะคําถามที่ทรงพลังจะกระตุนการใชสมอง ของผูฟงใหคิด สํารวจ และทําความเขาใจดวยตนเอง โดยผูพูดไมตองใชคําพูดโนมนาว คําถามที่ทรงพลังยังกระตุนผูฟงใหใชความคิดสรางสรรค และแสวงหาทางออกใหมๆ ทํา ใหการสนทนามีความเขมขน สรางการมีสวนรวม และบรรยากาศการทํางานแบบรวม แรงรวมใจไดดี ผูพูดยังสามารถใชคําถามที่นาสนใจเพื่อเปดประเด็นการสนทนาได
  • 3. 3  การพูดโดยยกตัวอยางประกอบ การเลาเรื่องที่นาสนใจ การเปรียบเทียบ อุปมาอุปไมย ปกติแลว ผูฟงมักจดจําสิ่งที่รับฟงไปไมไดมากนัก เหมือนตอนไปชมภาพยนตร เราออก จากโรงภาพยนตรดวยความประทับใจ แตถามวา จดจําคําพูดอะไรในภาพยนตรไดบาง เรากลับนึกคําพูดจริงๆไมออก แตเราจะจดจําสีหนา ทาทาง การแสดงของนักแสดงได การยกระดับคําพูดใหนาจดจํา และเขาถึงจิตใจผูฟงจึงเปนสิ่งจําเปน การพูดดวยการ ยกตัวอยาง การเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมยจะชวยใหผูฟงเขาใจสิ่งที่พูดไดชัดเจนขึ้น และจดจําไดมากกวา หรือการเลาเรื่องที่สอดคลองกับประเด็นที่ตองการจะสื่อสาร อาจ เปนเรื่องจริง เรื่องเลา หรือนิทาน จะชวยดึงความสนใจของผูฟงไดดี การฝกฝนตนเองใหพูดนอย แตสรางผลกระทบไดมากไมใชเรื่องยาก อยูที่ความมุงมั่น ตั้งใจ คําพูดมักออกจากความคิด ผูพูดจึงควรระมัดระวังความคิดของตนเองไมใหฟุงซาน หรือกระจัด กระจายเกินไป คอยๆคิดทีละเรื่อง ใหความตองการของผูฟงเปนศูนยกลาง จัดระบบความคิด โดยเขียนความคิดลงบนกระดาษ อาจใชเครื่องมือชวยเชน Mind Map ในการสรางความ เชื่อมโยง หากทานสามารถจัดระบบความคิดของทานใหงายได การพูดของทานยอมจะกระชับ ชัดเจน เขาใจงาย และเขาถึงจิตใจผูฟงมากขึ้นคะ สําหรับในตอนหนา บทความ ‘พูดเกง’ ไมสําคัญ สําคัญที่ตอง ‘พูดเปน’ ตอนที่ 2 เปนเรื่องของ การวิเคราะหผูฟง อยาลืมติดตามอานกันนะคะ