ݺߣ
Submit Search
บทที่ 1
•
0 likes
•
245 views
เมเม่จัง น่าร๊ากอ่ะ
1 of 10
Download now
Download to read offline
More Related Content
บทที่ 1
1.
1การเลือกและการใช้สื่อการสอน 1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media) ไฮนิคส์
(Heinich ) และคณะ ให้คำจำกัดควำมคำว่ำ "สื่อ" ไว้ดังนี้ "Media is a channel of communication. "ซึ่งสรุปควำมเป็นภำษำไทยได้ดังนี้ "สื่อ คือช่องทำงในกำรติดต่อสื่อสำร" Heinich และ คณะยังได้ขยำยควำมเพิ่มเติมอีกว่ำ สื่อ มีรำกศัพท์มำจำกภำษำลำติน มีควำมหมำยว่ำ ระหว่ำง (between) หมำยถึง อะไรก็ตำมซึ่งทำกำรบรรทุกหรือนำพำข้อมูลหรือสำรสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่ำงแหล่งกำเนิดสำร กับผู้รับสำร ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ให้ควำมหมำยของ "สื่อการสอน" ว่ำ คือวัสดุ (สิ้นเปลือง) อุปกรณ์ (เครื่องมือที่ใช้ ไม่ผุพังง่ำย) วิธีกำร (กิจกรรม เกม กำรทดลอง ฯลฯ) ที่ใช้สื่อกลำงให้ผู้สอนสำมำรถส่ง หรือถ่ำยทอดควำมรู้ เจตคติ (อำรมณ์ ควำมรู้สึก ควำมสนใจ ทัศนคติ และค่ำนิยม) และ ทักษะไปยังผู้เรียน ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เปรื่อง กุมุท กล่ำวว่ำ "สื่อการสอน" หมำยถึง สิ่งต่ำงๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือ หรือ ช่องทำงสำหรับทำ ให้กำรสอน ส่งไปถึงผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนสำมำรถเกิดกำรเรียนรู้ตำมวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมำยที่ผู้สอนวำดไว้ ได้เป็นอย่ำงดี สรุปความหมายของสื่อการเรียนการสอน คือ สื่อ (Media) หมำยถึง ตัวกลำงที่ใช้ถ่ำยทอดหรือนำ ควำมรู้ในลักษณะต่ำง ๆ จำกผู้ส่งไปยังผู้รับให้เข้ำใจ ควำมหมำยได้ตรงกัน ในกำรเรียนกำรสอน สื่อที่ใช้เป็น ตัวกลำงนำควำมรู้ในกระบวนกำรสื่อควำมหมำย ระหว่ำงผู้สอนกับผู้เรียนเรียกว่ำสื่อกำรเรียนกำรสอน (Instruction Media) ในทำงกำรศึกษำมีคำที่มีควำมหมำยแนวเดียวกันกับสื่อกำรเรียนกำรสอน เช่น สื่อกำร สอน (Instructional Media or Teaclning Media) สื่อกำรศึกษำ (Educational media) อุปกรณ์ช่วยสอน (Teaching Aids) เป็นต้น ในปัจจุบันนักการศึกษามักจะเรียกการนำสื่อกำรเรียนกำรสอนชนิดต่ำง ๆ มำรวมกันว่ำ เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ (Educational) ซึ่งหมำยถึง กำรนำเอำวัสดุ อุปกรณ์และวิธีกำรมำ ใช้ร่วมกันอย่ำงมีระบบในกำรเรียนกำรสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรเรียนกำรสอน
2.
2การเลือกและการใช้สื่อการสอน 2.ทาไมจึงต้องใช้สื่อการเรียนการสอน ข้อพิจารณาในการตอบคาถามว่า ทาไมจึงต้องใช้สื่อเพื่อช่วยในการเรียนการสอน มีอยู่หลาย ประการดังนี้ 1.ช่วยให้คุณภำพกำรเรียนรู้ดีขึ้น
เพรำะมีควำมจริงจังและมีควำมหมำยชัดเจนต่อผู้เรียน 2.ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในปริมำณมำกขึ้น ในเวลำที่กำหนดไว้จำนวนหนึ่ง 3.ช่วยให้ผู้เรียนสนใจ และมีส่วนร่วมอย่ำงแข็งขันในกระบวนกำรเรียนกำรสอน 4.ช่วยให้ผู้เรียนจำ ประทับควำมรู้สึกได้รวดเร็วและดีขึ้น 5.ช่วยส่งเสริมกำรคิดและกำรแก้ปัญหำในกระบวนกำรเรียนกำรสอน 6.ช่วยให้สำมำรถเรียนรู้ในสิ่งที่เรียนได้ลำบำก เพรำะ -ทำสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ำยขึ้น -ทำนำมธรรมให้เป็นรูปธรรมขึ้น -ทำสิ่งที่เคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงช้ำให้ดูเร็วขึ้น -ทำสิ่งที่เคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงเร็วให้ดูช้ำลง -ทำสิ่งที่ใหญ่มำกให้ย่อขนำดขึ้น -ทำสิ่งที่เล็กมำกให้ขยำยขนำดขึ้น -นำอดีตมำให้นักศึกษำได้ -นำสิ่งที่อยู่ไกลหรือลี้ลับมำศึกษำได้ ในกรณีนี้เป็นกำรส่งเสริมกำรเรียนกำรสอนมีคุณภำพดีขึ้น และยังสอดคล้องกับวิธีกำรสอนที่ครูผู้สอนพิจำรณำเลือกเอำมำใช้สอนอีกด้วย -ช่วยให้ผู้เรียนเรียนสำเร็จง่ำยขึ้น และผ่ำนกำรวัดผลอันหมำยถึงกำรบรรลุวัตถุประสงค์ของบทเรียน 3.การจาแนกประเภทของสื่อการสอน สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1.จาแนกประเภทสื่อการเรียนการสอน โดยพิจำรณำจำกลักษณะประสำทกำรรับรู้ของผู้เรียน จำกกำรเห็นและกำรฟัง ซึ่งสำมำรถจำแนกประเภทของสื่อได้ ดังต่อไปนี้ สื่อที่เป็นภาพ (Visual Media) ภำพที่ไม่ต้องฉำย (Non-Projected) ได้แก่ ภำพบนกระดำษ ดำ ภำพจำกแผ่นภำพ ภำพจำกหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่ำง ๆ ภำพที่ต้องฉำย (Projected) ได้แก่ ภำพจำกเครื่อง ฉำยภำพข้ำมศีรษะ เครื่องฉำยสไลด์เครื่องฉำยภำพยนตร์หรือวิดีทัศน์ สื่อที่เป็นเสียง (Audio Media) ได้แก่ สื่อประเภทเสียงที่ใช้ในกระบวนกำรเรียนรู้ เช่น เทปบันทึกเสียง วิทยุ เป็นต้น สื่อที่เป็นทั้งภาพและเสียง (Audio-Visual Media) ได้แก่ สื่อที่แสดงภำพและเสียงพร้อม ๆ กัน เช่น สไลด์ประกอบเสียง ภำพยนตร์ที่มีเสียง (Sound-film) เทปโทรทัศน์บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) และมัลติมิเดีย เป็นต้น
3.
3การเลือกและการใช้สื่อการสอน 2.จาแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอน ในทางเทคโนโลยีการศึกษา อำจจำแนกได้เป็น
เครื่องมืออุปกรณ์ (Hardware) สื่อกำรเรียนกำรสอนประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ์เรียกกัน โดยทั่วไปว่ำ ฮำร์ดแวร์ (Hardware) หรือสื่อใหญ่ (Big Media) หมำยถึง สิ่งที่เป็นอุปกรณ์ทำงเทคนิคทั้งหลำยที่ ประกอบด้วยกลไกไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่ใช่สิ่งสิ้นเปลือง ได้แก่ เครื่องฉำยทั้งหลำย เช่น เครื่องฉำย ภำพยนตร์ เครื่องฉำยสไลด์เครื่องฉำยภำพทึบแสง เครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะ เครื่องรับโทรทัศน์ รวมทั้ง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทำงเทคนิคอื่น ๆ ที่เป็นทำงผ่ำนของควำมรู้ เช่น เครื่องฉำยจุลซีวันเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น วัสดุ (Software) สื่อกำรเรียนกำรสอนประเภทวัสดุ บำงครั้งเรียกว่ำ ซอฟต์แวร์ (Software) หรือสื่อเล็ก (Small Media) ซึ่งเป็นวัสดุที่เก็บควำมรู้ในลักษณะของภำพ เสียง และตัวอักษรในรูปแบบต่าง ๆ จาแนกได้ 2 ประเภท คือ 1.วัสดุที่ต้องอำศัยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Hardware) เพื่อเสนอเรื่องรำว ข้อมูลหรือควำมรู้ออกมำสื่อ ควำมหมำยแก่ผู้เรียน ได้แก่ ฟิล์ม แผ่นใส เทปบันทึกเสียง เป็นต้น 2.วัสดุที่เสนอควำมรู้ได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอำศัยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ใด ๆ เช่น ตำรำ หนังสือ เอกสำร คู่มือ รูปภำพ แผ่นภำพ ของจริง ของตัวอย่ำง หุ่นจำลอง เป็นต้น เทคนิคและวิธีการ (Technique and Method) กำรสื่อควำมหมำยในกำรเรียนกำรสอน บำงครั้งไม่อำจทำได้ด้วยเครื่องมืออุปกรณ์หรือวัสดุ แต่จะต้องอำศัยเทคนิคหรือวิธีกำรเพื่อกำรให้เกิดกำร เรียนรู้ หรือใช้ทั้งวัสดุอุปกรณ์และวิธีกำรไปพร้อม ๆ กัน แต่เน้นที่วิธีกำรเป็นสำคัญ เช่น กำรสำธิตประกอบกำร ใช้เครื่องมือเครื่องจักร กำรทดลอง กำรแสดงบทบำท กำรศึกษำนอกสถำนที่ กำรจัดนิทรรศกำร เป็นต้น ดังนั้น เทคนิคหรือวิธีกำรต่ำง ๆ ดังกล่ำวจึงจัดว่ำเป็นสื่อกำรเรียนกำรสอนอีกประเภทหนึ่ง แต่สื่อประเภทนี้มักจะใช้ ร่วมกับสื่อ 2 ประเภทแรก จึงจะได้ผลดี เมื่อกล่าวถึงการสื่อการเรียนการสอนในกระบวนการเรียนการสอนโดยทั่วไป ส่วนใหญ่จะคำนึงถึง วัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ประกอบกำรเรียนรู้ ซึ่งได้แก่ ฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ มำกกว่ำเทคนิคหรือวิธีกำร ดังนั้นจึง นิยมเรียกสื่อกำรเรียนกำรสอนว่ำอุปกรณ์ช่วยสอนหรืออุปกรณ์กำรสอน (Teaching Aids) ซึ่งหมำยถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกำรเรียนรู้หรือเพิ่มประสิทธิภำพในกำรสื่อควำมหมำย อันจะส่งผลให้ผู้เรียน เกิดควำมเข้ำใจในบทเรียนได้ง่ำยขึ้น
4.
4การเลือกและการใช้สื่อการสอน 4.การเลือกสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะกับวัตถุประสงค์ ในกำรพิจารณาเลือกใช้ หรือสร้างสื่อการเรียนการสอนให้เหมำะสมกับวัตถุประสงค์นั้น จะต้อง พิจำรณำเป้ำหมำยของวัตถุประสงค์ของบทเรียนเป็นหลัก
โดยกำรวิเคราะห์เนื้อหาของวัตถุประสงค์นั้น ว่ามีจุดสาคัญอะไรควรสื่อความหมายลักษณะใด จำกนั้นจึงเลือกลักษณะของสื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหำหลักของวัตถุประสงค์นั้น โดยพิจำรณำเลือก เรียงลำดับจำกสิ่งที่เป็นนามธรรม (Abstract) ไปสู่สิ่งที่เป็นรูปธรรม (Concrete) ดังนี้ ของจริง หุ่นจาลอง รูปภาพเคลื่อนไหว รูปภาพนิ่ง คาพูด/คาบรรยาย ตัวอย่างการเลือกสื่อการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ของบทเรียน : หลังจากจบบทเรียนแล้ว ผู้เรียนจะสามารถ 1. อธิบำยควำมหมำยของคำว่ำ “สื่อกำรเรียนกำรสอน” ได้ 2. บอกชื่อส่วนต่ำงๆ ของหลอดไฟแบบมีไส้ (Incandescent Lamp) ได้ 3. อ่ำนค่ำแรงดัน กระแส ควำมต้ำนทำนที่ย่ำนวัดต่ำงๆ ของมัลติมิเตอร์ได้ถูกต้อง การพิจารณาเลือกสื่อการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ข้อ 1. พบว่ำ สื่อที่จำเป็นในกำรใช้สอนเพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยได้ก็คือ ใช้เพียงคำพูด บรรยำยก็เพียงพอแล้ว วัตถุประสงค์ข้อ 2. ถ้ำใช้คำพูด หรือบรรยำยเพียงอย่ำงเดียวคงไม่พอที่จะให้ผู้เรียนบรรลุเป้ำหมำย ได้ง่ำยนัก ดังนั้นจึงต้องมีสื่อกำรเรียนกำรสอนอื่น ๆ ช่วย เช่น รูปภำพนิ่ง หุ่นจำลอง หรือของจริง ซึ่งสื่อทั้ง 3 ลักษณะนี้น่ำจะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้ดีกว่ำ แต่กำรที่จะกำหนดว่ำเป็นสื่อ ประเภทใดนั้นจะต้องพิจำรณำต่อไปถึงปัจจัยอื่นประกอบดังนั้นในวัตถุประสงค์ข้อนี้สื่อกำรเรียนกำรสอนที่ เลือกใช้จึงอำจเป็นแผ่นใสหรือแผ่นภำพที่เป็นรูปหลอดไฟฟ้ำขนำดใหญ่ หรือใช้หลอดไฟฟ้ำจริงก็ได้เนื่องจำก หำได้ง่ำย แต่จะต้องมีจำนวนเพียงพอกับควำมต้องกำรของผู้เรียน เนื่องจำกของจริงมีขนำดเล็กเกินไป วัตถุประสงค์ วิเคราะห์เนื้อหา เพื่อหา จุดสาคัญของวัตถุประสงค์ พิจารณาเลือก ลักษณะของสื่อ รูปธรรม(Concrete) (Abstract)นามธรรม
5.
5การเลือกและการใช้สื่อการสอน ตัวอย่าง เครื่องมัลติมิเตอร์ วัตถุประสงค์ข้อ 3.
เนื่องจำกมัลติมิเตอร์ของจริงมีขนำดเล็ก ผู้เรียนทั้งชั้นไม่สำมำรถมองเห็นสเกล หรืออ่ำนค่ำได้พร้อม ๆ กัน ควรเพิ่มขนำดมัลติมิเตอร์ให้ใหญ่ขึ้น โดยทำเป็นแผ่นภำพ แผ่นใสหรือจำลองแบบ จำกของจริงจะเป็นสื่อที่ชัดเจนกว่ำ และผู้สอนสำมำรถควบคุมชั้นเรียนได้ในเวลำเดียวกัน ส่วนกำรใช้ มัลติมิเตอร์จริงจะควบคุมกำรสอนได้ยำกในช่วงของกำรให้เนื้อหำ แต่ถ้ำเป็นกำรประลอง หรือเป็นแบบฝึกหัด จะเหมำะสมกว่ำแผ่นภำพหรือแผ่นใส เมื่อพิจารณาได้ลักษณะของสื่อ จำกำรวิเครำะห์เนื้อหำหลักของวัตถุประสงค์บทเรียนแล้ว ในขั้น ต่อไปเป็นการวิเคราะห์ต่อเพื่อหาประเภทของสื่อหรืออุปกรณ์ช่วยสอนที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์นั้น โดย พิจำรณำจำกคุณสมบัติเฉพำะตัว และควำมเหมำะสมในกำรใช้ประกอบกำรสอนของสื่อกำรเรียนกำรสอนแต่ละ ประเภท ดังรายละเอียดต่อไปนี้
6.
6การเลือกและการใช้สื่อการสอน
7.
7การเลือกและการใช้สื่อการสอน
8.
8การเลือกและการใช้สื่อการสอน
9.
9การเลือกและการใช้สื่อการสอน
10.
10การเลือกและการใช้สื่อการสอน
Download