ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน การปลูกฟักเขียว (Winter Melon)

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวชนนนิกานต์ บุญเฉลียว เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 3
2.นางสาวนัทศรินทร์
ค้าขาย
เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 3

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์
่

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2

ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวชนนิกานต์ บุญเฉลียว
2. นางสาวนัทศรินทร์ ค้าขาย

เลขที่ 20
เลขที่ 35

คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้

ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การปลูกฟักเขียว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) winter melon
ประเภทโครงงาน การทดลองทฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชนนิกานต์ บุญเฉลียว
นางสาวนัทศรินทร์ ค้าขาย
ชื่อที่ปรึกษา
คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงทีมา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
่
โครงงานเรื่อง การปลูกฟักเขียว มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเนื้อหาความรู้ทางด้านวิชาการงานอาชีพและ
เทคโนโลยีมาประใช้ในการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน โดยการศึกษาเกี่ยวกับการปลูกฟักเขียวเพื่อให้ได้ผลที่สวยงามและ
น่ารับประทาน เกิดจากดูแลเอาใจใส่ หมั่นรดน้าอย่างสม่าเสมอ การทาโครงงานนี้ยังสามารถพัฒนาเป็นอาชีพอีกด้วย
ทั้งยังสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีและเห็นคุณค่าของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์ (สิงที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
่
1) ศึกษากรรมวิธีการปลูกฟักเขียว
2) ศึกษาการเจริญเติบโตของฟักเขียว
3) ศึกษาประโยชน์จากฟักเขียว

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
“การปลูกฟักเขียว” เป็นโครงงานที่ศึกษาเพื่อนาทรัพยากรที่ใช้พื้นที่ของตนเองมีอยู่เพียงเล็กน้อยให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด มีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เพื่อศึกษาวิธีการการปลูกฟักเขียว การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวผลผลิต
3

หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ฟักเขียวเป็นพืชอายุสั้น มีลาต้นสีเขียวมีขนขึ้นปกคลุมอยู่ทั่วลาต้น แตกกิ่งก้านสาขามากมาย ใบมีลักษณะ
เป็นหยักคล้ายฝ่ามือขอบใบแยกออกเป็น 5–7 แฉก ปลายแฉกแหลมใบหยาบเรียงสลับกันตามข้อต้น ใบกว้าง
ประมาณ 5–15 เซนติเมตร มีขนปกคลุม ก้านใบยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มีดอกเดี่ยว (Solitary Flower) สี
เหลือง ดอกเพศผู้มีลักษณะเป็นหลอดยาว 5–10 เซนติเมตร ปลายดอกแยกออกเป็น 5 กลีบ มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ส่วน
ดอกเพศเมียก้านดอกจะสั้นกว่าดอกเพศผู้ ปลายดอกแยกออกเป็น 3 แฉก มีรังไข่อยู่ภายในดอก ผลมีลักษณะเป็นรูป
กลมยาวกว้างประมาณ 20–30 เซนติเมตร ยาว 30–60 เซนติเมตร เปลือกแข็งสีเขียวเนื้อในสีขาว เนื้อแน่น ฉ่าน้า มี
เมล็ดอยู่ภายในจานวนมากสีขาวออกเหลือง
คนไทยมักนาผลฟักเขียวมาประกอบอาหารในประเภท ต้ม ผัด แกง เมนูยอดนิยมของฟักเขียวที่รู้จักกันดี คือ
แกงจืดฟักต้มกับไก่ ฟักเขียวสามารถบริโภคได้ทั้งผลอ่อนและผลแก่ โดยผลอ่อนรสชาติจะเข้มกว่าผลแก่ มีน้ามาก ใบ
อ่อนและตาดอก นาไปนึ่งหรือใส่ในแกงจืดเพิ่มรสชาติ ส่วนเมล็ดทาให้สุกสามารถกินได้ แต่มีข้อควรระวังสาหรับคนที่
มีปัญหาทางด้านการขับถ่าย และมีอาการแน่นหน้าอก ไม่ควรรับประทาน

วิธีดาเนินงาน
ฟักเขียวขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ปลูกได้ดีในดินร่วนปนทรายโดยการนาเมล็ดที่เตรียมไว้หยอดลงหลุมลึก
ประมาณ 3–5 เซนติเมตร ประมาณ 2–3 เมล็ด กลบหลุมและรดน้าสม่าเสมอทุกวันโดยเฉพาะช่วงติดดอกและผล
มิฉะนั้นอาจทาให้ดอกและผลที่ติดหลุดร่วงได้ ในช่วงเวลา 15 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวควรหยุดการให้น้าเพื่อให้ได้ผล
ผลิตที่มีคุณภาพและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในช่วง 35–60 วัน

เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อุปกรณ์ทาการเกษตร
2. เมล็ดพืช
3. ตารางบันทึกผล

งบประมาณ

-
4

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
ขั้นตอน
บ
ที่
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4
5
6
7
8

สัปดาห์ที่
ผู้รับผิดชอบ
1 1
1 1 1 1 1
1 2 3 4 5 6 7 8 9
12
0 1
3 4 5 6 7
/
ชนนิกานต์
/
นัทศรินทร์
/
ชนนิกานต์
นัทศรินทร์
ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
/ /
ชนนิกานต์
นัทศรินทร์
ปรับปรุงทดสอบ
/
ชนนิกานต์
การทาเอกสารรายงาน
/
นัทศรินทร์
ประเมินผลงาน
/
ชนนิกานต์
นาเสนอโครงงาน
/
นัทศรินทร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้ผลิตผลที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้ทุกส่วนของฟักเขียวให้เกิดประโยชน์สูงสุด ใช้ฟักเขียวในการ
ประกอบอาหารและเป็นยารักษาโรคได้

สถานที่ดาเนินการ
บ้าน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- นิตยสารเกษตรก้าวหน้า
- บทความ “ฟักช่วยย่อยอาหารและบารุงร่างกาย” จากเว็บไซต์หมอชาวบ้าน
- ข้อมูลพื้นฐานฟักเขียว

More Related Content

โครงงานคอม (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน การปลูกฟักเขียว (Winter Melon) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวชนนนิกานต์ บุญเฉลียว เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 3 2.นางสาวนัทศรินทร์ ค้าขาย เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวชนนิกานต์ บุญเฉลียว 2. นางสาวนัทศรินทร์ ค้าขาย เลขที่ 20 เลขที่ 35 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การปลูกฟักเขียว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) winter melon ประเภทโครงงาน การทดลองทฤษฎี ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชนนิกานต์ บุญเฉลียว นางสาวนัทศรินทร์ ค้าขาย ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงทีมา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ่ โครงงานเรื่อง การปลูกฟักเขียว มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเนื้อหาความรู้ทางด้านวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยีมาประใช้ในการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน โดยการศึกษาเกี่ยวกับการปลูกฟักเขียวเพื่อให้ได้ผลที่สวยงามและ น่ารับประทาน เกิดจากดูแลเอาใจใส่ หมั่นรดน้าอย่างสม่าเสมอ การทาโครงงานนี้ยังสามารถพัฒนาเป็นอาชีพอีกด้วย ทั้งยังสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีและเห็นคุณค่าของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วัตถุประสงค์ (สิงที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) ่ 1) ศึกษากรรมวิธีการปลูกฟักเขียว 2) ศึกษาการเจริญเติบโตของฟักเขียว 3) ศึกษาประโยชน์จากฟักเขียว ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) “การปลูกฟักเขียว” เป็นโครงงานที่ศึกษาเพื่อนาทรัพยากรที่ใช้พื้นที่ของตนเองมีอยู่เพียงเล็กน้อยให้เกิด ประโยชน์สูงสุด มีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เพื่อศึกษาวิธีการการปลูกฟักเขียว การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวผลผลิต
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ฟักเขียวเป็นพืชอายุสั้น มีลาต้นสีเขียวมีขนขึ้นปกคลุมอยู่ทั่วลาต้น แตกกิ่งก้านสาขามากมาย ใบมีลักษณะ เป็นหยักคล้ายฝ่ามือขอบใบแยกออกเป็น 5–7 แฉก ปลายแฉกแหลมใบหยาบเรียงสลับกันตามข้อต้น ใบกว้าง ประมาณ 5–15 เซนติเมตร มีขนปกคลุม ก้านใบยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มีดอกเดี่ยว (Solitary Flower) สี เหลือง ดอกเพศผู้มีลักษณะเป็นหลอดยาว 5–10 เซนติเมตร ปลายดอกแยกออกเป็น 5 กลีบ มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ส่วน ดอกเพศเมียก้านดอกจะสั้นกว่าดอกเพศผู้ ปลายดอกแยกออกเป็น 3 แฉก มีรังไข่อยู่ภายในดอก ผลมีลักษณะเป็นรูป กลมยาวกว้างประมาณ 20–30 เซนติเมตร ยาว 30–60 เซนติเมตร เปลือกแข็งสีเขียวเนื้อในสีขาว เนื้อแน่น ฉ่าน้า มี เมล็ดอยู่ภายในจานวนมากสีขาวออกเหลือง คนไทยมักนาผลฟักเขียวมาประกอบอาหารในประเภท ต้ม ผัด แกง เมนูยอดนิยมของฟักเขียวที่รู้จักกันดี คือ แกงจืดฟักต้มกับไก่ ฟักเขียวสามารถบริโภคได้ทั้งผลอ่อนและผลแก่ โดยผลอ่อนรสชาติจะเข้มกว่าผลแก่ มีน้ามาก ใบ อ่อนและตาดอก นาไปนึ่งหรือใส่ในแกงจืดเพิ่มรสชาติ ส่วนเมล็ดทาให้สุกสามารถกินได้ แต่มีข้อควรระวังสาหรับคนที่ มีปัญหาทางด้านการขับถ่าย และมีอาการแน่นหน้าอก ไม่ควรรับประทาน วิธีดาเนินงาน ฟักเขียวขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ปลูกได้ดีในดินร่วนปนทรายโดยการนาเมล็ดที่เตรียมไว้หยอดลงหลุมลึก ประมาณ 3–5 เซนติเมตร ประมาณ 2–3 เมล็ด กลบหลุมและรดน้าสม่าเสมอทุกวันโดยเฉพาะช่วงติดดอกและผล มิฉะนั้นอาจทาให้ดอกและผลที่ติดหลุดร่วงได้ ในช่วงเวลา 15 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวควรหยุดการให้น้าเพื่อให้ได้ผล ผลิตที่มีคุณภาพและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในช่วง 35–60 วัน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อุปกรณ์ทาการเกษตร 2. เมล็ดพืช 3. ตารางบันทึกผล งบประมาณ -
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั ขั้นตอน บ ที่ 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 5 6 7 8 สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 12 0 1 3 4 5 6 7 / ชนนิกานต์ / นัทศรินทร์ / ชนนิกานต์ นัทศรินทร์ ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / ชนนิกานต์ นัทศรินทร์ ปรับปรุงทดสอบ / ชนนิกานต์ การทาเอกสารรายงาน / นัทศรินทร์ ประเมินผลงาน / ชนนิกานต์ นาเสนอโครงงาน / นัทศรินทร์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้ผลิตผลที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้ทุกส่วนของฟักเขียวให้เกิดประโยชน์สูงสุด ใช้ฟักเขียวในการ ประกอบอาหารและเป็นยารักษาโรคได้ สถานที่ดาเนินการ บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - นิตยสารเกษตรก้าวหน้า - บทความ “ฟักช่วยย่อยอาหารและบารุงร่างกาย” จากเว็บไซต์หมอชาวบ้าน - ข้อมูลพื้นฐานฟักเขียว