ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ 1 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจเพื่อสังคม
ธุรกิจ หมายถึง กระบวนการของธุรกิจนับตั้งแต่การผลิตการจาหน่าย สินค้าและบริการตามความต้องการของผู้บริโภค โดยได้รับกาไรเป็น ผลตอบแทน กิจการที่ดาเนินการผลิตสินค้า เช่น กิจการเหมืองแร่การก่อสร้าง กิจการอุตสาหกรรม สินค้ามีตัวตนมองเห็นและจับต้องได้ กิจการที่ให้บริการ เช่น กิจการขนส่ง บริษัทประกันภัย สินค้าไม่มีตัวตน มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ กาไร เป็นผลประโยชน์ของกิจการ หลังจากหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มาหัก ออกจากรายได้ของกิจการ
สาระสาคัญของธุรกิจ 
เป็นความพยายามอย่างเป็นแบบแผนของบุคคลที่จัดตั้งองค์การ คือ ผู้ประกอบการ ต้องใช้ทักษะความรู้ ที่มีอยู่เพื่อจัดการกับทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด มี 4 ชนิด 
การสนองความต้องการ เช่นการสร้างความพอใจให้ลูกค้าสูงสุด 
กาไรของธุรกิจ
ทรัพยากรวัสดุ 
ทรัพยากรการเงิน 
ทรัพยากรมนุษย์ 
ทรัพยากรข้อมูล 
ธุรกิจ 
ทรัพยากรธุรกิจ
สาเหตุที่ต้องการศึกษาธุรกิจ 
ด้านการช่วยในการเลือกอาชีพ 
ด้านการช่วยให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของผู้ปฏิบัติงานในองค์การ 
ด้านการเริ่มต้นจัดตั้งธุรกิจของตนเอง 
ด้านการให้รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจและสังคม 
ด้านการเป็นผู้บริโภคที่ฉลาด
ความสาคัญของธุรกิจ 
ธุรกิจผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 
ธุรกิจช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม 
ธุรกิจช่วยกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค 
ธุรกิจช่วยสร้างงานทา 
ธุรกิจช่วยเสียภาษีให้รัฐบาล 
ธุรกิจช่วยพัฒนาท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับบุคคล 
เจ้าของกิจการ 
ผู้ถือหุ้น 
พนักงาน 
ผู้บริโภค 
ผู้ขาย 
เจ้าหนี้ 
คู่แข่งขัน 
รัฐบาล
ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) 
แบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม 
ประชาชนทุกคนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและการเป็นเจ้าของ ทรัพยากร 
การมีสิทธิและเสรีภาพที่จะเลือกตัดสินใจประกอบธุรกิจตามที่ตนเอง สนใจและเห็นว่าเป็นธุรกิจในอนาคต 
มีกาไรเป็นเรื่องจูงใจ 
ราคาของสินค้าและบริการกาหนดโดย Demand & Supply
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมหรือ แบบบังคับ 
เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐเป็นเจ้าของ ทรัพยากรการผลิตเกือบทุกอย่าง 
กลไกราคาไม่มีบทบาท 
แผนจากส่วนกลาง เป็นเครื่องมือที่ สาคัญที่รัฐใช้ในการตัดสินใจปัญหา พื้นฐานแทนหน่วยเศรษฐกิจทั้งหลาย 
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 
ระบบเศรษฐกิจที่ทั้งรัฐและเอกชน มี ส่วนร่วมกันแก้ไขปัญหาพื้นฐานทาง เศรษฐกิจ 
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินมีทั้งส่วนที่เป็น ของรัฐและเอกชน 
กลไกราคามีบทบาทในการจัดสรร ทรัพยากรและการแจกแจงผลิตแต่แบบ นี้มีบทบาทน้อยกว่า เพราะ มีการ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจหลายฝ่าย และมี อิทธิพลการผูกขากบางส่วน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและหน่วยธุรกิจ 
ผู้บริโภค (Customers) 
ผู้ผลิต (Producers) 
เจ้าของปัจจัยการผลิต (Factor Owners)
วงจรความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริโภค หน่วยธุรกิจ และเจ้าของปัจจัยการผลิต 
ค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า ค่าแรง ดอกเบี้ย กาไร) 
ธุรกิจ 
ครัวเรือน 
ปัจจัยการผลิต 
สินค้าและบริการ 
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ
วัตถุประสงค์ของธุรกิจ 
เพื่อต้องการอยู่รอด (Survival) 
เพื่อการเจริญเติบโต (Growth) 
เพื่อต้องการกาไร (Profit) 
เพื่อรับผิดชอบต่อสังคมภายในและภายนอกของกิจการ
ประเภทของธุรกิจ(Types of Business)แบ่งได้ดังนี้ 
1. ธุรกิจการผลิต (Manufacturing) แบ่งออกเป็น 
1.1 ธุรกิจเกษตร เป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ 
1.2 ธุรกิจที่นาเอาทรัพยากรธรรมชาติ เช่น เหมืองแร่ ก๊าซธรรมชาติ 
1.3 ธุรกิจแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น ธุรกิจสิ่งทอ ธุรกิจแปรรูปอาหารจาก 
พืชและสัตว์ 
1.4 ธุรกิจก่อสร้าง 
2. ธุรกิจการค้า (Commerces) 
2.1 ธุรกิจค้าส่ง (Wholesaling) 
2.2 ธุรกิจค้าปลีก (Retailing) 
3. ธุรกิจให้บริการ (Service)
ขนาดของธุรกิจ 
ธุรกิจครอบครัว ธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจขนาด 
กลาง 
ธุรกิจขนาด 
ใหญ่
หน้าที่ขององค์การธุรกิจ 
1. การบริหารองค์การ (Organization management) 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human resource management) 
3. การผลิตและการปฏิบัติการ (Production and operation) 
4. การตลาด (Marketing) 
5. การเงิน (Finance) 
6. การบัญชี (Accounting) 
7. การจัดระบบสารสนเทศ (Information system)
ความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการบริหารธุรกิจให้ประสบ ผลสาเร็จ 
ด้านเศรษฐศาสตร์ 
ด้านสังคม 
ด้านรัฐศาสตร์ 
ด้านสถิติธุรกิจ 
ด้านบัญชี 
ด้านบริหารจัดการ 
ด้านการตลาด 
ด้านจิตวิทยา 
ด้านกฎหมายธุรกิจ 
ด้านภาษาต่างประเทศ 
ด้านเทคโนโลยี 
อื่น ๆ
คุณสมบัติของนักธุรกิจยุคใหม่ 
มีความเชื่อมั่นในตนเอง 
มีความสามารถพิเศษในธุรกิจ 
มีความกล้าหาญ 
มีความคิดริเริ่ม 
มีความเป็นนักบริหาร 
มีภาวะผู้นา 
มีเชาว์ปัญญา 
มีความมุ่งมั่น 
มีวิสัยทัศน์ 
มีความสามารถในการจัดการ ความรู้
ตัวอย่างของธุรกิจทั่วไป
ธุรกิจ๶พื่อการผลิตสินค้าและบริการ
ธุรกิจ๶พื่อการซื้อྺาย
ธุรกิจ๶พื่อผลกาไร
การซื้อྺายสิȨ้าและบริการ
การกระจายสินค้าจากผู้ผลิตสู่ ผู้บริโภค
ธุรกิจที่ก่อให้เกิึϸารจ้างงาน
ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม
26
27 
การดาเนินธุรกิจ ที่คานึงถึงผลประโยชน์ 
ของคน ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม 
ภายใต้หลักจริยธรรมและการกากับดูแล 
กิจการที่ดี เพื่อนาไปสู่การดาเนินธุรกิจ 
ที่ประสบความสาเร็จอย่างยั่งยืน
28 
ทัศนะเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม 
ทัศนะดั้งเดิม 
 ธุรกิจควรมุ่งแสวงหา 
กาไรและรับผิดชอบต่อเจ้าของ 
หรือผู้ถือหุ้นเท่านั้น 
ไม่ปฏิเสธความรับผิดชอบ 
ต่อสังคม แต่จะต้องไม่ส่งผล 
กระทบต่อผู้ถือหุ้น หรือ 
เจ้าของธุรกิจ 
เมื่อมีค่าใช้จ่ายเพื่อสังคม 
ควรผลักภาระให้ผู้บริโภค 
ทัศนะทางเศรษฐกิจสังคม 
 ธุรกิจควรต้องรับผิดชอบ 
ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่ม 
ต่าง ๆ ทุกกลุ่ม 
มุ่งให้ธุรกิจคานึงถึงการ ทา 
กาไรระยะยาวมากกว่าการจะ 
มุ่งทากาไรในระยะสั้น ๆ 
รอบบินส์และคูล เตอร์
29 
ขั้นตอนความรับผิดชอบของธุรกิจ 
เจ้าของและผู้ถือหุ้น 
พนักงาน 
ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง 
สังคมไทยส่วนรวม 
ทัศนะ ดั้งเดิม 
ทัศนะทาง เศรษฐกิจ และสังคม
30 
ขอบเขตความรับผิดชอบของ องค์การธุรกิจต่อสังคม 
สุขภาพและสวัสดิการของบุคคล 
คุณภาพและบริการ 
ข้อมูลข่าวสารและการศึกษา 
สิ่งแวดล้อม 
ศาสนาและวัฒนธรรม
31 
ขอบเขตความรับผิดชอบของ องค์การธุรกิจต่อสังคม (ต่อ) 
สิทธิมนุษยชน 
ผู้บริโภค 
ชุมชน 
จริยธรรม 
กฎหมาย และเศรษฐกิจ
32 
ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม 
เศรษฐกิจ = Must Do = ต้องทา 
กฎหมาย = Have to Do = จาเป็นต้อง ทา 
จริยธรรม = Should = ควรทา 
จิตสานึกที่ดี 
Might Do 
อาจทา 
สร้าง ภาพลักษณ์ 
Caroll
33 
ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม 
Social Obligation 
Social Responsiveness 
Social Responsibility
34 
ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม 
Mandatory level : ข้อกาหนดตาม กม. 
Elementary level : ประโยชน์ทาง เศรษฐกิจ 
Preemptive level : จรรยาบรรณทาง ธุรกิจ 
Voluntary level : ความสมัครใจ 
สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม
35 
ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ 
สังคมไกล 
สังคมใกล้ 
องค์การ 
ประชาชนทั่วไป คู่แข่งขันทางธุรกิจ 
ผู้ถือหุ้น 
ผู้บริหาร 
พนักงาน 
ลูกค้า คู่ค้า 
ครอบครัวพนักงาน 
ชุมชน สิ่งแวดล้อมรอบข้าง
36 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก 
ลูกจ้าง 
ลูกค้า 
คู่แข่งขัน 
เจ้าหนี้ 
ผู้จัดจาหน่ายสินค้า 
ผู้จาหน่ายวัตถุดิบ 
ผู้ถือหุ้นและ เจ้าของ
37 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง 
ชุมชน ท้องถิ่น 
กลุ่มนักรณรงค์ เพื่อสังคม 
สื่อมวลชน 
กลุ่มสนับสนุน ธุรกิจ 
การรับฟังความ คิดเห็นของ สาธารณชน 
สภาพแวดล้อมใน ระดับโลก 
รัฐบาล
38 
ประเภทความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม 
CSR-after-process การดาเนินกิจกรรมที่แยกจากการ 
ดาเนินธุรกิจที่เป็นกระบวนการหลักของกิจการ 
CSR-in-process การดาเนินกิจกรรมอยู่ใน กระบวนการ 
หลักของกิจการ เช่น การป้องกัน การกาจัดมลพิษ ใน 
กระบวนการผลิต 
CSR-as-process เป็นกิจกรรมที่ดาเนินงานโดย องค์กร 
ที่ไม่แสวงหากาไรให้กับตนเอง เป็นหน่วยงานที่ตั้งขึ้น
สิ่งแวดล้อมกับจริยธรรมทาง ธุรกิจ
40 
ความหมายของสิ่งแวดล้อมทางธุรกิจ 
สิ่งแวดล้อมทางธุรกิจ หมายถึง สิ่งที่มีอิทธิพล อย่างมาก โดยที่จะสามารถส่งผลกระทบต่อการ ดาเนินงานขององค์กรธุรกิจ
41 
ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ 
เกิดจาการผลิตสินค้าของโรงงานอุตสาหกรรม 
เกิดจากการบริโภคของคนในสังคม
42 
ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม 
ปัญหาน้าเสีย (Water Pollution) 
• ปัญหาอากาศเป็นพิษ (Air Pollution) หรืออากาศเสีย
43 
ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (ต่อ) 
ปัญหากากของเสียอันตราย (Hazadous Waste) 
• ปัญหาเสียงรบกวน (Noise Pollution)
44 
กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม 
อนุรักษ์ ส่งเสริม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัด 
ใช้บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายง่าย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ปล่อยสารพิษ / น้าเสีย ลงแหล่งน้า อากาศ และพื้นดิน ไม่ใช้สาร CFC ในการผลิตสินค้า เพื่อลดภาวะโลกร้อน 
ไม่ทิ้งขยะเป็นพิษ ต้องขจัดให้ถูกวิธี 
สนับสนุนโครงการปลูกป่า อนุรักษ์สัตว์ป่า ไม่ทาลายป่า 
ฯลฯ
45 
การบริหารสีเขียว 
Greening Management การที่ผู้บริหาร 
องค์การตระหนักถึงผลกระทบจากการ 
ตัดสินใจและการดาเนินงานขององค์การ 
ต่อสิ่งแวดล้อม
46 
องค์กรธุรกิจจะมีสีเขียวได้ อย่างไร ? 
Legal Approach เท่าที่กฎหมาย กาหนด 
Market Approach ผลิตสินค้าคานึงถึงสิ่งแวดล้อม 
Stakeholders Approach คานึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
Activist Approach 
มุ่งหาวิธีการพิทักษ์ สิ่งแวดล้อม 
เขียวอ่อน 
เขียวแก่ Dark Green
47 
ผลิตภัณฑ์สีเขียวรักษาสิ่งแวดล้อม 
Green Productivity : GP เป็นกระบวนการคิด 
ในการเพิ่มผลผลิต โดยมีการพิจารณารวมถึง 
การพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อลด 
ผลกระทบที่เกิดข้นกับสิ่งแวดล้อม เช่น มาตรฐาน 
ISO 1400 / 14001
48 
ผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว 
มาตรฐานฉลากเขียว (Green Label) เป็นระบบ หนึ่ง 
ของมาตรฐานคุณภาพ ก่อนประกาศใช้ ISO 1400 
เป็นทางการ ประเทศไทยดาเนินการภายใต้ชื่อของ 
“โครงการฉลากเขียว” ขอได้โดยสมัครใจที่สถาบัน 
สิ่งแวดล้อมไทย หรือสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 
อุตสาหกรรม
49 
เกณฑ์การอนุญาตให้ใช้ฉลากเขียว 
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้อุปโภคบริโภคทั่วไปใน ชีวิตประจาวัน 
ผลิตภัณฑ์ต้องไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อม 
การตรวจสอบต้องไม่ยุ่งยาก เสียค่าใช้จ่าย ประเมินคุณภาพ 
ตามข้อกาหนดทางสิ่งแวดล้อมสูงเกินไป 
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตเลือกใช้วิธีการผลิต มีผลกระทบ
50 
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์โครงการ ฉลากเขียว 
กระดาษรีไซเคิล 
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่แปรรูปมากพลาสติกที่ใช้แล้ว 
หลอดฟลูออเรสเซนต์ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 
สีอิมัลชั่น สูตรลดสารพิษ 
เครื่องปรับอากาศประหยัดพลังงานไฟฟ้า 
ถ่ายไฟฉายสูตรไม่ผสมสารปรอท เป็นต้น
51 
Clean & Green อมตะรักษ์สิ่งแวดล้อม 
เป็นโครงการของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชั่น จากัด 
(มหาชน) สู่Perfect City โดยการสร้างพื้นที่สีเขียว 
ในนิคมอุตสาหกรรมของอมตะทั้งหมด เพราะ 
พืชสีเขียวช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ บรรเทา 
โลกร้อนได้ส่วนหนึ่ง และลดการใช้พลังงานไฟฟ้า 
สาธารณูปโภค ลดปริมาณขยะ
52 
แนวคิดการลดขยะเพื่อสิ่งแวดล้อม 
 REFUSE หลีกเลี่ยง บรรจุภัณฑ์ที่สร้างปัญหาขยะ 
REFILL เลือกใช้สินค้าชนิดเดิมซึ่งใช้บรรจุภัณฑ์ น้อย 
RETURN เลือกใช้สินค้าที่คืนบรรจุภัณฑ์สู่ผู้ผลิต 
 REPAIR ซ่อมเครื่องใช้ให้ใช้ประโยชน์ได้ไม่เป็นขยะ 
REUSE นาบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 
RECYCLE การนาขยะที่ใช้ประโยชน์ได้ส่งแปรรูป 
REDUCE ลดการบริโภค หาทางเพิ่มประสิทธิภาพ
53 
ประเภทของถังขยะ 
ถังสีเขียว ขยะเน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว เช่น ผัก ผลไม้ 
ถังสีเหลือง ขยะที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ 
เช่น กระดาษ พลาสติก โลหะ ขวด ฯลฯ 
ถังสีเทา-ส้ม ขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม 
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่ายไฟฉาย กระป๋องสี ฯลฯ 
ถังสีฟ้า ขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ รีไซเคิลยาก แต่ไม่เป็น พิษ
54 
วัตถุประสงค์ของการสร้างค่านิยมร่วม 
แนวทางการตัดสินใจและปฏิบัติของผู้บริหาร 
ปรับพฤติกรรมของพนักงาน 
มีอิทธิพลต่อการดาเนินการทางตลาด 
เกิดจิตวิญญาณการทางานเป็นทีม
55 
แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคม 
เคารพกฎหมาย 
พูดแต่ความจริง 
ทาในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น 
เคารพผู้อื่น 
ไม่ทาร้ายหรือทาให้ผู้อื่นได้รับอันตราย 
สร้างการมีส่วนร่วม 
ดาเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่าง เต็มที่

More Related Content

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป