ݺߣ
Submit Search
ข้อ 1
•
Download as DOCX, PDF
•
2 likes
•
1,373 views
T
Tiwapon Wiset
Follow
1 of 7
Download now
Download to read offline
More Related Content
ข้อ 1
1.
กฎหมายมหาชนมีความเกี่ยวข้อง มีความสาคัญ กับการบริหารราชการแผ่นดินอย่างไร
ข้อ 1. กฎหมายมหาชนคืออะไร มีความสาคัญกับศาสตร์อื่นเช่นรัฐศาสตร์และปรัชญาอย่างไร จงอธิบาย ธงคาตอบ กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่กล่าวกาหนดถึงกฎเกณฑ์ทางกฎหมายทัง้ที่เกี่ยวข้องกับ สถานะ และ อานาจ ของรัฐและผู้ปกครองกับพลเมือง ผู้อยู่ใต้ปกครองในฐานะที่รัฐและผู้ปกครองมีเอกสิทธิ์ทางปกครองเหนือพลเมือง ซึ่งอยู่ในฐานะเป็นเอกชน ส่วนรัฐศาสตร์นัน้คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของรัฐ อานาจ และการปกครอง รัฐศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับรัฐ กาเนิด และวิวัฒนาการของรัฐ รัฐในสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและยังศึกษาองค์การทางการเมือง สถาบันทางปกครองตลอดจนในการปกครองรัฐ วิธีการดาเนินการต่างๆของรัฐ รวมทัง้แนวคิดทางการปกครองและการเมืองในรัฐด้วย กฎหมายมหาชนและรัฐเป็นศาสตร์ 2 ศาสตร์ ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างมาก เพราะกฎหมายมหาชนจะศึกษา เรื่อง รัฐ อานาจของรัฐ รัฐธรรมนูญ และศึกษาสถาบันการเมืองของรัฐ ซึ่งก็ต้องเกี่ยวข้องกับรัฐศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม กฎหมายมหาชนยังต้องศึกษาในด้านนิติศาสตร์อยู่อีกมาก ศึกษาบัญญัติของกฎหมายมิใช่เป็นการศึกษาทางรัฐศาสตร์ล้วนๆ กฎหมายมหาชนสัมพันธ์กับปรัชญา กล่าวคือ กฎหมายแต่ละอย่างจะมีปรัชญาที่แตกต่างกัน ปรัชญาของ กฎหมายเอกชน ปรัชญากฎหมายมหาชนเป็นต้น ดังนัน้ ปรัชญาซึ่งเป็นศาสตร์แห่งการวิเคราะห์ความรู้ยอดสรุปของวิชากฎหมายมหาชน จึงสัมพันธ์กับปรัชญา สาธารณประโยชน์หรือประโยชน์สาธารณะ และการประสานดุลภาพระหว่างประโยชน์สาธารณะ กับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของเอกชน ข้อ 2. จงทาตามคาสั่งต่อไปนี้ 1) ยกตัวอย่างกฎหมายเอกชน 5 ฉบับ 2) หน่วยงานทางปกครองได้แก่หน่วยงานใดบ้าง
2.
3) เจ้าหน้าที่ของรัฐคือใคร 4)
การใช้อานาจทางปกครองมีลักษณะเป็นอย่างไร และจงอธิบายถึงความหมายสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายมหาชน หน่วยงานทางปกครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ การใช้ อานาจการปกครอง และศาลปกครอง ธงคาตอบ 1) กฎหมายมหาชน ได้แก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายปกครอง ได้แก่ กฎหมายที่ดินและพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญต่างๆ เช่น พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคาแหง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการเลือกตัง้ เป็น ต้น 2) หน่วยงานการปกครอง ได้แก่ - หน่วยงานในการบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม มีสถานภาพเป็นนิติบุคคล - หน่วยงานในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด และอาเภอ จังหวัดเป็นนิติบุคคลแต่อาเภอไม่ เป็นนิติบุคคล - หน่วยงานในการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อ.บ.จ.) เทศบาล องค์การ บริหารส่วนตาบล (อ.บ.ต.) กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา - รัฐวิสาหกิจ เช่น ไฟฟ้า การประปา การรถไฟ ฯลฯ - หน่วยงานเอกชนที่ใช้อานาจหรือได้รับมอบหมายให้ใช้อานาจในทางปกครองตามกฎหมาย เช่น สภา ทนายความ สถานที่ตรวจสภาพรถยนต์ ฯลฯ 3) เจ้าหน้าที่ของรัฐคือ บุคคล หรือคณะบุคคลที่ใช้อานาจหรือได้รับมอบให้ใช้อานาจในทางปกครองตาม กฎหมาย ได้แก่ ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่คณะกรรมการที่จัดตัง้ขึน้ตามกฎหมาย 4) การใช้อานาจทางการปกครอง คือ การใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐอันทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับต่อสถานภาพหรือสิทธิของบุคคลรวมทัง้การออกกฎออกคาสั่งด้วย
3.
กฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายที่บัญญัติให้อานาจหน้าที่ในทางปกครองแก่รัฐแก่หน่วยงานทางปกครองแล ะ แก่
เจ้าหน้าที่ของรัฐ ดังนัน้ หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ จะดาเนินการใดๆ ได้จะต้องมีกฎหมายบัญญัติให้อานาจหน้าที่ไว้ ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติให้อานาจหน้าที่ในการปกครองไว้ทาไม่ได้ และเมื่อดาเนินการใดๆ แล้วเกิดกรณีพิพาทจะเป็นกรณีพิพาททางปกครองจะต้องนาคดีไปฟ้องยังศาลปกครอง ข้อ 3. ให้นักศึกษาอธิบายความสัมพันธ์ของการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินการควบคุมการใช้อานาจ รัฐโดยละเอียด พร้อมยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กันดังกล่าว ธงคาตอบ การบริหารราชการแผ่นดินของไทยเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายมหาชน คือ รัฐธรรมนูญ และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องเช่น พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 บัญญัติให้อานาจและหน้าที่ในทางปกครอง ได้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเป็น 3 ส่วน คือ 1, การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย 2. การจัดระเบียบบริหารส่วนภุมิภาค ได้แก่ จังหวัดและอาเภอ กฎหมายบัญญัติให้จังหวัดเป็นนิติบุคคล ส่วนอาเภอไม่เป็นนิติบุคคล 3. การจัดระเบียบบริหารส่วนท้องถิ่น ได้แก่ - องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อ.บ.จ.) - เทศบาล - องค์การบริหารส่วนตาบล (อ.บ.ต.) - เมืองพัทยา - กรุงเทพมหานคร การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นเป็นการกระจายอานาจทางปกครองให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วน ร่วมในการปกครองตนเองตามความประสงค์ของประชาชนเอง
4.
และการเกิดขึน้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนีเ้กิดขึน้จาก บทบัญญัติของกฎหมาย และกฎหมายที่ทาให้เกิดองค์กรดังกล่าวเป็นกฎหมายมหาชน
ซึ่งได้แก่ - พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด - พ.ร.บ. เทศบาล - พ.ร.บ. สภาตาบล และองค์กรบริหารส่วนตาบล - พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร - พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พระราชบัญญัติดังกล่าวนัน้เป็นกฎหมายที่บัญญัติให้อานาจหน้าที่ในทางปกครองและบริการสาธารณะแก่ องค์กรดังกล่าวซึ่งเป็นนิติบุคคลตามบทบัญญัติของกฎหมาย อานาจบังคับบัญชา กับ อานาจกากับการดูแล อานาจบังคับบัญชา คือ อานาจที่ผู้บังคับบัญชาใช้ปกครองผู้ใต้บังคับบัญชา เช่น รัฐมนตรี ใช้อานาจบังคับ บัญชา เหนือเจ้าหน้าที่ทัง้หลายในกระทรวง เป็นต้น เป็นอานาจที่ผู้บังคับบัญชาสามารถสั่งการใดๆ ก็ได้ตามที่ตนเห็นว่าเหมาะสม สามารถกลับ แก้ ยกเลิก เพิกถอน คาสั่งหรือการกระทาใดๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชาได้เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะเป็นประการอื่นทัง้นกี้ารใช้อานาจ บังคับบัญชาต้องชอบด้วยกฎหมาย ใช้ในทางที่เหมาะสม จะขัดต่อกฎหมายไม่ได้ ส่วน อานาจกากับดูแล นัน้ ไม่ใช่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างผุ้บังคับบัญชากับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา แต่ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกากับดูแลกับองค์กรภายใต้กากับดูแล เป็นอานาจที่มีเงื่อนไข กล่าวคือ จะใช้ได้ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อานาจไว้ และต้องเป็นตามรูปแบบที่กฎหมายกาหนด ไม่มีอานาจสั่งการให้ปฏิบัติการตามที่ตนเห็นสมควร ทาได้แต่เพียงกากับดูแลให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้องตามกฎหมายเท่านัน้ แต่ในบางกรณีองค์กรกากับดูแลอาจยกเลิก เพิกถอนหรือเข้าสั่งการแทนองค์กรภายใต้กากับดูแล แต่ก็เฉพาะกรณีที่กฎหมายยกเว้นไว้เท่านัน้ เพราะโดยหลักแล้วองค์กรกากับดูแลไม่มีอานาจที่จะกระทาเช่นนัน้ ความแตกต่างระหว่าง อานาจบังคับบัญชา กับ อานาจกากับดูแล
5.
1) อานาจบังคับบัญชาเป็นอานาจทั่วไป ไม่จาเป็นต้องมีกฎหมายให้อานาจ
เป็นอานาจที่ผู้บังคับบัญชาใช้ กับ ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาจึงสั่งการใดๆก็ได้ตามที่ตนเห็นว่าเหมาะสม คือสามารถปรับแก้ ยกเลิก เพิกถอนคาสั่งของผู้ใต้ บังคับบัญชาได้เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายไว้เป็นอย่างอื่น แต่ในการใช้อานาจบังคับบัญชานัน้จะต้องชอบด้วยกฎหมาย ส่วนอานาจกากับดุแลนัน้เป็นอานาจที่มีเงื่อนไข ไม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับ บัญชา จะใช้อานาจได้ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อานาจและต้องเป็นไปตามรูปแบบที่กฎหมาย กาหนดเท่านัน้ กล่าวคือกฎหมายจะกาหนดรูปแบบไว้ว่าใครจะเป็นผู้ใช้อานาจ เช่น การสั่งยุบสภาท้องถิ่นต้องมีรายงานเสนอจากผู้ว่าราชการจังหวัดขึน้ไป ดัง นัน้ อานาจยุบสภาท้องถิ่นจึงอยู่ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ฉะนัน้ ในการควบคุมกากับดูแลจึงไม่มีการสั่งการตามที่ผู้กากับดูแลนัน้เห็นสมควร แม้อาจมีบางกรณีที่ผู้กากับดูแลอาจจะยกเลิก เพิกถอนได้ แต่ก็ต้องมีเรื่องที่กฎหมายได้กาหนดไว้ 2) อานาจบังคับบัญชาเป็นอานาจในระบบการการบริหารในนิติบุคคลหนึ่งๆ เช่น ภายในรัฐ หรือภายใน องค์ กระจายอานาจอื่นๆ เช่น ภายในเทศบาลเองก็มีอานาจบังคับบัญชา นายกเทศมนตรีสามารถออกคาสั่งหรือสั่งการใดๆที่ตนเห็นว่าเหมาะสมได้ ส่วนการบริหารภายในรัฐก็คือราชการบริหารส่วนกลาง เมื่อบริหารองค์กรที่อยู่ภายใต้อานาจในราชการบริหารส่วนกลางก็คือ กระทรวง ทบวง กรม นัน้ ก็ใช้อานาจบังคับบัญชาเช่นกัน อนึ่ง หลักการควบคุมการใช้อานาจรัฐ แบ่งได้ ดังนกี้ล่าวคือ - ระหว่างราชการส่วนกลางกับราชการส่วนภูมิภาค ใช้หลักการควบคุมบังคับบัญชา - ระหว่างราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาคกับราชการส่วนท้องถิ่นใช้หลักการกากับดูแล ทัง้นี้การควบคุมการใช้อานาจรัฐ หรือฝ่ายปกครอง แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ (1) การควบคุมฝ่ายปกครองแบบป้องกัน (แบบก่อน) หมายถึง กฎหมายกาหนดกระบวนการต่างๆก่อนจะมี
6.
การกระทาการปกครอง เพื่อคุ้มครองและให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมมากขึน้ กระบวนการควบคุมในกฎหมายต่างประเทศ
มี ตัวอย่างเช่น - การโต้แย้งคัดค้าน ผู้ที่อาจเสียหายจากการกระทาของฝ่ายปกครองจะต้องสามารถแสดงข้อโต้แย้งของตน ได้ก่อนมีการกระทานัน้ เพื่อหลีกเลี่ยงการปกครองที่ดือ้ดึง -การปรึกษาหารือ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ -การให้เหตุผล เพื่อเป็นหลักประกันในการควบคุมการใช้ดุลพินิจของฝ่ายปกครอง -หลักการไม่มีส่วนได้เสีย ผู้มีอานาจสั่งการทางปกครองต้องไม่มีส่วนได้เสีย -การไต่สวนทวั่ไป เป็นวิธีการที่กาหนดให้ฝ่ายปกครองต้องสอบสวนหาข้อเท็จจริงโดยทาการรวบรวมความ คิดเห็นของบุคคลที่มีส่วนได้เสีย แล้วทาเป็นรายงานก่อนที่ฝ่ายปกครองจะตัดสินใจกระทาการที่จะมีผลกระทบผู้มีส่วนได้เสีย ประเทศไทยในปัจจุบันมี พ.ร.บ, วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 กาหนดหลักเกณฑ์นเี้ป็นกฎหมาย กลาง แต่ก็มีกฎหมายเฉพาะที่อาจกาหนดหลักเกณฑ์เหล่านไี้ว้ในกฎหมายเฉพาะนัน้ด้วยก็ ได้ อนึ่งใน พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มีหลักเกณฑ์ที่เป็นลักษณะของการแก้ไขอยู่ด้วยเช่นกัน เช่น การอุทธรณ์ภายใน เป็นต้น (2) การควบคุมฝ่ายปกครองแบบแก้ไข (แบบหลัง) หมายถึง การควบคุมตรวจสอบการใช้อานาจทางปกครอง หลังการใช้อานาจทางปกครองไปแล้วเรียกว่า การควบคุม แบบแก้ไข ซึ่งกระทาได้หลายวิธีดังนี้ 2.1 การควบคุมโดยองค์กรภายในของฝ่ายบริหารเอง เช่น - การร้องทุกข์ การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง 2.2 การควบคุมองค์ภายนอกของฝ่ายบริหารเช่น - การควบคุมโดยทางการเมืองได้แก่การตัง้กระทู้ถาม การเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ
7.
- การควบคุมโดยองค์กรพิเศษได้แก่ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา -
การควบคุมโดยศาลปกครอง การควบคุมแบบแก้ไขนเี้ป็นการใช้อานาจทางปกครองไปแล้ว และเกิดปัญหาจากการใช้อานาจทางปกครอง นัน้ขึน้ จึงต้องแก้ไขปัญหาด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีตามขัน้ตอนที่กฎหมายบัญญัติไว้ ระบบการควบคุมการใช้อานาจรัฐที่ดี ประกอบด้วย (1) ต้องครอบคลุมในกิจการของรัฐทุกด้านให้เป็นการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้อย่างทั่วถึง (2) เหมาะสมกับสภาพของกิจกรรมของรัฐที่ควบคุม (มีสมดุล) (3) องค์กรที่ทาหน้าที่ตรวจสอบนัน้ ๆ ต้องอิสระ และองค์กรนัน้ๆ จะต้องถูกตรวจสอบได้ (4) การเข้าถึงระบบการตรวจสอบควบคุมนตี้้องเป็นไปโดยกว้างขวาง สาหรับในด้านความสัมพันธ์ของการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินกับการควบคุมการใช้อานาจรัฐ นัน้ เป็น ไปดังนี้กล่าวคือ โดยเหตุที่หน่วยงานของรัฐมีบรรจุในราชการแผ่นดิน ทัง้ 3 ส่วน ไม่ว่าจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด อาเภอ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนัน้ ทุกส่วนราชการจึงตกอยู่ภายใต้การควบคุมการใช้อานาจรัฐทัง้สิน้ซึ่งก็แล้วแต่กรณีว่าจะตกอยู่ภายใน การใช้อานาจ แบบใด ทัง้นกี้็เป็นไปตามเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างต้น
Download