ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
จัดทำโดย
๑. นำงสำวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษำ ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๑๙
๒. นำงสำวชลันดำ คล้ำยขำดี รหัสนักศึกษำ ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๔๓
๓. นำยชัยณรงค์ มะหำรักษ์ รหัสนักศึกษำ ๕๗๐๐๓๑๒๖๐๕๑
กลุ่ม คอมพิวเตอร์ศึกษำ รหัส ๕๗๓๐๐๑๒๖๐๑
คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏรำชนครินทร์
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อทำงกำร : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of the Myanmar)
เมืองหลวง : เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) (เมืองหลวงเดิม คือ ย่างกุ้ง)
ศำสนำประจำชำติ : ศำสนำพุทธ
วันชำติ : 4 มกราคม
วันที่เป็นสมำชิกอำเซียน : 23 กรกฎำคม พ.ศ. 2540
ธงประจำชำติ
มีลักษณะเป็นธงสำมสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ
ภำยในแบ่งตำมแนวนอน ควำมกว้ำงเท่ำกัน พื้นสี
เหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตำมลำดับจำกบน
ลงล่ำง กลำงธงมีรูปดำวห้ำแฉกสีขำวขนำดใหญ่
สีเหลือง หมำยถึง ควำมสำมัคคี
สีเขียว หมำยถึง สันติภำพ ควำมสงบ และควำมอุดมสมบูรณ์
สีแดง หมำยถึง ควำมกล้ำหำญ ควำมเข้มแข็ง เด็ดขำด
ดำวสีขำว หมำยถึง สหภำพอันมั่นคงเป็นเอกภำพ
ควำมหมำยของสัญลักษณ์ในธงชำติ ประกอบด้วย
ตรำแผ่นดิน
ลักษณะของดวงตรำประกอบด้วย
- รูปสิงห์แบบศิลปะพม่ำจำนวน 2 ตน อยู่ในท่ำนั่งรักษำกำรณ์ หันหลังให้กัน
- กลำงตรำ มีภำพของแผนที่ประเทศพม่ำรองรับด้วยช่อใบมะกอกคู่
- ล้อมรอบด้วยลวดลำยบุปผชำติตำมแบบศิลปะพม่ำ
- บนสุดของดวงตรำเป็นรูปดำวห้ำแฉกดวงหนึ่ง
- รองรับด้วยม้วนแพรแถบจำรึกนำมเต็มของประเทศด้วยใจควำม
“สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า”
ลักษณะทำงภูมิศำสตร์
พม่ำมีพื้นที่ประมำณ 657,740 ตำรำงกิโลเมตร
ภูมิประเทศ
 ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ
ติดกับจีนและทิเบต
 ทิศใต้และตะวันออกเฉียงใต้
ติดกับลำวและไทย
 ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ติดกับอินเดียและบังกลำเทศ
 ทิศใต้
ติดกับทะเลอันดำมันและอ่ำวเบงกอล
กำรเมืองกำรปกครอง
กำรปกครองแบบสำธำรณรัฐ โดยมีรัฐสภำ ซึ่งประกอบด้วย สภาประชาชน
สภาชาติพันธุ์ และสภาท้องถิ่น
ประธำนำธิบดี เป็นประมุขของประเทศ นำยกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ำคณะรัฐบำล
พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย พลเอก เต็ง เส่ง
เศรษฐกิจและทรัพยำกรที่สำคัญ
ปลูกข้ำวเจ้ำ ก๊ำซธรรมชำติ , น้ำมัน ป่ำไม้
อัญมณี แร่ธำตุ
สัตว์ประจำชำติ
เสือโคร่ง เป็นสัตว์กินเนื้อตระกูลแมวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความดุร้าย
ว่องไว ปราดเปรียว สามารถวิ่งได้เร็ว ว่ายน้าเก่ง ปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว พบได้
ทั่วไปในทวีปเอเชีย และพบมากในป่าของประเทศเมียนม่าร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
ความอุดมสมบูรณ์ของประเทศพม่าได้เป็นอย่างดี
ดอกไม้ประจำชำติ
ดอกประดู่ ดอกสีเหลืองทองและส่งกลิ่นหอมหลังฤดูฝนแรกของเดือน
เมษำยน ซึ่งเป็นเวลำเดียวกับกำรเฉลิมฉลองปีใหม่ของประเทศ เป็นสัญลักษณ์
ของควำมแข็งแรง และควำมทนทำน เป็นดอกไม้ที่ขำดไม่ได้ในงำนประเพณี
และพิธีทำงศำสนำ จึงพบมำกในประเทศพม่ำ
กำรใช้ภำษำ
ภำษำประจำชำติ
ภำษำรำชกำร
ภำษำเมียนมำร์
ตัวอักษร มีทั้งหมด 33 ตัว สระ 23 ตัว
สระลอย
สระที่ไม่ต้องนำไปประกอบกับพยัญชนะก็ออกเสียงได้
สระจม
สระที่ต้องนำไปประกอบกับพยัญชนะถึงออกเสียงได้
กำรจัดรูปประโยคของพม่ำ คือ อยู่ในรูป
ประธำน กรรม กริยำ
กำรพูดลงท้ำยคำคุณศัพท์หรือกริยำ
ลงท้ำยด้วย "เด่หรือเต่"
ตัวอย่ำง ภำษำเมียนม่ำร์
ภาษาพม่า ภาษาไทย
มิงกะลาบา สวัสดี (ใช้ได้ตลอดวัน)
เจซูติน บาแด ขอบคุณมาก
ควินโละ บ่าหน่อ ขอโทษ
หม่อง ใช้เรียกเด็กผู้ชายและคนหนุ่มโสด
ม่ะ ใช้เรียกเด็กผู้หญิงและสาวโสด
ช้อเด่ น่ารักมาก
ตาตา ลาก่อน
วัฒนธรรมประเพณี
กำรแต่งกำย
ชำวพม่ำทั้งหญิงและชำยนิยมนุ่งโสร่ง ที่เรียกว่ำ “ลองยี”
กุยตั๋ง
ผ้ำโพกศีรษะ
รองเท้ำแตะ
ยินซี
ใส่ผ้าคลุมไหล่
ผ้าโสร่ง
อำหำรประเทศเมียนม่ำร์
หล่ำเพ็ด เป็นอำหำรยอดนิยมของพม่ำ คือใบชำหมักทำนกับเครื่องเคียง
เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่ำง ๆ งำคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้ำวคั่ว จัดว่ำเป็น
อำหำรว่ำงคล้ำยกับยำเมี่ยงบ้ำนเรำนั่นเอง เป็นอำหำรที่ขำดไม่ได้ในโอกำส
พิเศษหรือเทศกำลสำคัญ ๆ
อำหำรประเทศเมียนม่ำร์
ขนมจีนน้ำยำพม่ำ เป็นขนมจีนน้ำยำที่ทำจำกปลำ แต่ไม่มีกะทิ จะเรียกว่ำ
น้ำยำป่ำก็ได้ ชำวพม่ำจะทำนกันเป็นอำหำรเช้ำด้วย น้ายาจะใช้ปลาน้าจืดเป็น
หลัก ผักที่ใส่ในน้ายาก็จะเป็นหยวกกล้วย และใช้พวกแป้ งถั่ว จากนั้นก็โรย
หน้าด้วย ถั่วเหลืองทอด ปรุงรสด้วยพริกป่น และมะนาว
ประเพณีสิบสองเดือน
ลำดับ
เดือน
เดือนพม่ำ เดือนสำกล งำนประเพณีประจำเดือน
1 ดะกู มี.ค. - เม.ย. งำนฉลองสงกรำนต์
2 กะโส่ง เม.ย. - พ.ค. งำนรดน้ำต้นโพธิ์
3 นะโหย่ง พ.ค. - มิ.ย. งำนสอบพระธรรม ปัจจุบันย้ำยไปจัดในเดือนดะกู
4 หว่ำโส่ มิ.ย. - ก.ค. งำนบวชพระเณร และ งำนเข้ำพรรษำ
5 หว่ำข่อง ก.ค. - ส.ค. งำนสลำกภัต ปัจจุบันงำนบูชำนัตที่ต่องปะโยง เป็นที่สนใจมำกขึ้น
6 ต่อดะลีง ส.ค. - ก.ย. งำนแข่งเรือ หรือ งำนต่อดะลีงหรืองำนติจ์ซีง ปัจจุบันไม่มีกำรจัดงำน
7 ดะดีงจู๊ต ก.ย. - ต.ค. งำนจุดประทีป และ งำนออกพรรษำ นิยมปล่อยโคมลอยกันในเดือนนี้
8 ดะส่องโมง ต.ค. - พ.ย. งำนทอดกฐิน และ งำนตำมประทีป
9 นะด่อ พ.ย. - ธ.ค. งำนบูชำนัต ปัจจุบันจัดงำนเทิดเกียรติกวี แทนงำนบูชำนัต
10 ปยำโต่ ธ.ค. - ม.ค. งำนอัศวยุทธ ปัจจุบันไม่มีกำรจัดงำน
11 ดะโบ๊ะดแว ม.ค. - ก.พ. งำนกวนข้ำวทิพย์ และ งำนหลัวไฟพระเจ้ำ
12 ดะบอง ก.พ. - มี.ค. งำนก่อเจดีย์ทรำย หรือ งำนดะบอง ปัจจุบันไม่นิยมจัดงำนก่อเจดีย์ทรำย
งำนเทิดเกียรติกวี
ในอดีตนั้นงำนประเพณีสิบสองเดือนของพม่ำจะรวมเอำกำรบูชำนัตหรือ
ผีหลวงไว้ ด้วย โดยจัดกันในเดือนเก้ำ (เดือนนะด่อ) ในระยะหลังได้เปลี่ยนเป็น
งำนเทิดเกียรติกวี แต่ชำวบ้ำนก็ยังคงรักษำพิธีบูชำผีนัตไว้ และยังจัดงำนใหญ่กัน
ในเดือนหว่ำข่อง (เดือนห้ำ) ที่หมู่บ้ำนต่องปะโยง ณ ชำนเมืองมัณฑะเล
ประเพณี ปอยส่ำงลอง
ประเพณี ปอยส่ำงลอง หรือ“งานบวชลูกแก้ว”เป็นงานประเพณีประจา
ของชาวไต หรือไทยใหญ่ ซึ่งได้มีการจัดสืบทอดกันมายาวนาน นิยมจัด
ในช่วงระหว่ำงเดือนมีนำคม ถึง เดือนพฤษภำคมของทุกปี
ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์

More Related Content

ภาษา และวัฒนธรรมประเทศเมียนมาร์