ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
นายธารยา ชูแหวน ชั้น ม.6/2 เลขที่ 7
นายพชร จันทร์โอสถ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 27
ชื่อโครงงาน ธาลัสซีเมียสู่การเรียนรู้ในห้องเรียน
ประเภทโครงงาน สื่อการสอน
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธารยา ชูแหวน
นายพชร จันทร์โอสถ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2
การนาผลการวิจัยและทฤษฎีต่างๆที่ได้มาพิสูจน์ และ
ปฏิบัติใช้จริง
1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2.เขียนโครงร่างตามหัวข้อที่กาหนด
3.เก็บรวบรวมข้อมูลเรื่องที่จะศึกษา
4.วิเคราะห์ข้อมูล
5.ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด
6.นาเสนอโครงงาน
แนวโȨมྺองโรคธาลัสซี๶มียใȨȨคต
2.นักเรียนรู้แนวทางการช่วยเหลือและดูแลผู้ป่ วยโรคธาลัสซี
เมีย
จากการนาเสนอข้อมูลโรคธาลัสซีเมียในห้องเรียน ทาให้เกิดผลดังนี้
1.นักเรียนรู้จักโรคธาลัสซีเมียและตระหนักถึงความสาคัญของ
โรคธาลัสซีเมียทั้งในประเทศไทยและกลุ่มอาเซียน
3.นักเรียนได้ช่วยเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
โรคธาลัสซีเมียให้กับบุคคลรอบข้าง
โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของสารพันธุกรรม ในการ
สร้างเม็ดเลือดแดง เป็นโรคซีดชนิดหนึ่ง สามารถติดต่อได้ทาง
กรรมพันธุ์ ความผิดปกติจะทาให้ฮีโมโกบิลในเม็ดเลือดแดง
ลดลง เม็ดเลือดแดงมีลักษณะผิดปกติและแตกง่าย มีอายุสั้น
กว่าปกติก่อให้เกิดอาการซีด
Home
ตับและ ม้ามโต
ซีดตัวเล็กผิดปกติ
ตาเหลือง
ผิวคล้าเพราะมีธาตุเหล็กมากในร่างกาย
อาจมีแผลเรื้อรังที่ขา
อาจไม่มีความเจริญทางเพศ
ดั้งจมูกแฟบ
หน้าผากกว้าง
Home
α-Thalassemia
β-Thalassemia
Home
ในกลุ่มอาเซียนถือว่าโรคธาลัสซีเมียเป็นปัญหา
ด้านสุขภาพที่รุนแรงมาก การดูแลรักษายังไม่ถูกต้องและ
ขาดนโยบายระดับชาติที่คอยควบคุมดูแล รวมทั้งขาด
ความตระหนักในความรุนแรงของโรค แต่ละประเทศต้อง
ใช้เงินงบประมาณจานวนมากในการเยียวยาหรือจัดการกับ
ปัญหา
การศึกษาเรื่องนี้จาเป็นต้องมีการติดตามผลและพัฒนาข้อมูลให้มากขึ้น
ข้อมูลควรมีการใช้สถิติเพื่อให้ข้อมูลชัดเจนขึ้นมากกว่าการประมาณการ
ประเทศ มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นปีละ (คน)
อินโดนีเซีย 10,000
ไทย 10,000
พม่า 2,400
กัมพูชา 1,800
ลาว 1,100
เวียดนาม 830
มาเลเซีย 800
ฟิลิปปินส์ 160
สิงคโปร์ 14
บรูไน 1
Home
แนวโȨมྺองโรคธาลัสซี๶มียใȨȨคต
ในปัจจุบันคนไทยเป็นพาหะธาลัสซีเมียถึง 40% ของ
ประชากร หรือเท่ากับ 16-24 ล้านคน ซึ่งสูงที่สุดในโลก คนเป็นพาหะ
แม้ไม่แสดงอาการแต่ถ้าจับคู่กับคนที่เป็นพาหะด้วยกัน โอกาสมีลูกป่วย
เป็นธาลัสซีเมียสูงถึง 1 ใน 4
ปัจจุบันนี้ความก้าวหน้าทางการรักษาเจริญก้าวหน้ามากขึ้น
ทาให้โรคธาลัสซีเมียสามารถป้ องกันและรักษาจนทาให้กลายเป็น
โรคเรื้อรังมากกว่าการเสียชีวิต และถ้าหากมีการดูแลทางคลินิกที่
เหมาะสม ผู้ป่วยสามารถมีชีวิตใกล้เคียงปกติและมีลูกหลานในสังคมได้
แต่เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มีชีวิตอยู่ในประเทศยากจน
Home
การให้เลือด
แนวทางการรักษา
การรักษาโดยการให้ยาྺับธาตุ๶หล็ก
การรักษาโดยการตัึϸ้าม
การรักษาโดยการปลูกถ่ายไขกระดูก
Home
2. บุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ดูแล
1. การดูแลตนเอง
การดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถทาได้
ดังนี้
การดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย
Home
1.ก่อนการแต่งงาน คู่สมรสควรตรวจเลือดหาโรคธาลัสซีเมีย
3. การให้ความรู้กับผู้ป่วยและบุคคลรอบข้างเพื่อให้ดูแลสุขภาพ
ของผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
2.สาหรับผู้ที่มีบุตรคนแรกเป็นโรคธาลัสซีเมีย ไม่ควรมีบุตรเพิ่ม ถ้า
ต้องการมีบุตรเพิ่มควรปรึกษาแพทย์
Home
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
จุดประสงค์
การนาทฤษฎีการตรวจเลือดมาปฏิบัติและพิสูจน์และ
การทาความเข้าใจและเรียนรู้เกี่ยวกับโรคเพื่อต่อยอดความคิด
อุปกรณ์
เลือดตัวอย่าง ถุงมือ หน้ากากอนามัย เสื้อกาว
ตะแกงเหล็ก
แผ่นสไลด์
สาร Wright Stain Buffer
สาร Wright Stain เครื่องจับเวลา
หลอดหยด
สาลีชุบแอลกอฮอล์
Capillary tube
Forceps
ผ้าก๊อซ กล้องจุลทัศน์
ขั้นตอนการทดลอง
เจาะเลือด
ใช้ Capillary tube ดูดเลือดจาก Tube
หยดเลือดจาก Capillary tube ลงบนแผ่นสไลด์
Blood Smear
ทิ้งไว้ให้แห้ง
เทสาร Wright Stain ให้ทั่วแผ่นสไลด์แล้วทิ้งไว้ 1-2 นาที
เทสาร Wright Stain Buffer ให้ทั่วแผ่นสไลด์แล้วทิ้งไว้ 1-2 นาที
ทิ้งไว้ให้แห้ง
เช็ดคราบ Wright Stain หลังแผ่นสไลด์ด้วยสาลีชุบ
แอลกอฮอล์ให้คราบ Wright Stain หมดไป
ส่องึϸความแตกต่างระหว่าง๶ซลล์๶ม็ึϹลือดแดง
Home

More Related Content

นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1