ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญค่อนข้างมากโดยเฉพาะเนื้อหาที่ต้องเรียนใน
ระดับชั้นมัธยมตอนปลายซึ่ง เรื่องเวกเตอร์สามมิติ ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมของชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ก็เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสาคัญที่เราจะต้องเรียน ในเนื้อหาเรื่องนี้เราจะต้องคิด
วิเคราะห์โดยเฉพาะเนื้อหาเรื่องพิกัดของเวกเตอร์บนแกนต่างๆต้องใช้ความละเอียดและความ
รอบคอบเป็นอย่างสูงในการสังเกตซึ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้างซับซ้อนในการสังเกต ซึ่งผู้เรียนส่วนมาก
ทาไม่ได้จึงทาให้เกิดความเบื่อหน่าย ไม่น่าสนใจ
คณะผู้จัดทาจึงได้คิดสร้างอุปกรณ์ที่ทาให้เกิดความเข้าใจและสามารถบอกพิกัดของ
เวกเตอร์ต่าง ๆ บนแกนได้ โดยการนาวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในบ้านมาปรับเปลี่ยนและประดิษฐ์
เป็นแบบจาลองเวกเตอร์สามมิติบนแกน ซึ่งอุปกรณ์นี้จะสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการบอกพิกัด
ของจุดต่างๆบนแกนได้ อีกทั้งเกิดความเพลิดเพลินในการเรียนรู้เรื่องเวกเตอร์สามมิติ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างแบบจาลองในการหาพิกัดต่าง ๆ ของเวกเตอร์บนแกนพิกัดฉากสามมิติ
2. เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระเบียบ
ขอบเขตของการศึกษา
1. เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
1. เวกเตอร์สามมิติ
2. จุดพิกัด
3. แกนทางคณิตศาสตร์
2. ระยะเวลาในการศึกษา
ระหว่างวันที่ 2 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2558 - วันที่ 28 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
2
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. เวกเตอร์ หมายถึง ปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง
2. เวกเตอร์สามมิติ หมายถึง การนาเวกเตอร์มาเขียนให้อยู่บนแกน ที่แทนจุดจุดหนึ่ง
บนระนาบ จานวนแรกของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด x เป็นระยะตั้งฉาก ที่จุดนั้นห่างจากแกนดิ่ง
ส่วนจานวนที่ 2 ของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด y เป็นระยะตั้งฉากที่จุดนั้นห่างจากแกนนอน ส่วนที่ 3
ของคู่อันดับเรียกว่า พิกัด z เป็นระยะห่างระหว่างแกนนอนกับแกนตั้ง
3. จุดพิกัด หมายถึง จานวนจริง 3 จานวนซึ่งเป็นคู่ลาดับ ที่แทนจุดจุดหนึ่ง บนระนาบ
จานวนแรกของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด x เป็นระยะตั้งฉาก ที่จุดนั้นห่างจากแกนดิ่ง ส่วนจานวนที่ 2
ของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด y เป็นระยะตั้งฉากที่จุดนั้นห่างจากแกนนอน ส่วนที่ 3 ของคู่อันดับเรียกว่า
พิกัด z เป็นระยะห่างระหว่างแกนนอนกับแกนตั้ง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้คิดค้นสื่อการเรียนการสอนที่แปลกใหม่ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการหาพิกัด
ต่างๆของเวกเตอร์บนแกนต่าง ๆ
2. เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระเบียบ
3. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม ฝึกการคิดอย่างมีระบบระเบียบ
มีแบบแผน สร้างความเชื่อมั่นในตัวเอง แสดงความสามารถตามศักยภาพของตน นาความคิด
สร้างสรรค์ มาประยุกต์ใช้ในการเรียนคณิตศาสตร์ ให้น่าสนใจและสนุกสนานเพิ่มมากขึ้น

More Related Content

บทที่ 1

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญค่อนข้างมากโดยเฉพาะเนื้อหาที่ต้องเรียนใน ระดับชั้นมัธยมตอนปลายซึ่ง เรื่องเวกเตอร์สามมิติ ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมของชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ก็เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสาคัญที่เราจะต้องเรียน ในเนื้อหาเรื่องนี้เราจะต้องคิด วิเคราะห์โดยเฉพาะเนื้อหาเรื่องพิกัดของเวกเตอร์บนแกนต่างๆต้องใช้ความละเอียดและความ รอบคอบเป็นอย่างสูงในการสังเกตซึ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้างซับซ้อนในการสังเกต ซึ่งผู้เรียนส่วนมาก ทาไม่ได้จึงทาให้เกิดความเบื่อหน่าย ไม่น่าสนใจ คณะผู้จัดทาจึงได้คิดสร้างอุปกรณ์ที่ทาให้เกิดความเข้าใจและสามารถบอกพิกัดของ เวกเตอร์ต่าง ๆ บนแกนได้ โดยการนาวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในบ้านมาปรับเปลี่ยนและประดิษฐ์ เป็นแบบจาลองเวกเตอร์สามมิติบนแกน ซึ่งอุปกรณ์นี้จะสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการบอกพิกัด ของจุดต่างๆบนแกนได้ อีกทั้งเกิดความเพลิดเพลินในการเรียนรู้เรื่องเวกเตอร์สามมิติ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างแบบจาลองในการหาพิกัดต่าง ๆ ของเวกเตอร์บนแกนพิกัดฉากสามมิติ 2. เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระเบียบ ขอบเขตของการศึกษา 1. เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 1. เวกเตอร์สามมิติ 2. จุดพิกัด 3. แกนทางคณิตศาสตร์ 2. ระยะเวลาในการศึกษา ระหว่างวันที่ 2 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2558 - วันที่ 28 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
  • 2. 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. เวกเตอร์ หมายถึง ปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง 2. เวกเตอร์สามมิติ หมายถึง การนาเวกเตอร์มาเขียนให้อยู่บนแกน ที่แทนจุดจุดหนึ่ง บนระนาบ จานวนแรกของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด x เป็นระยะตั้งฉาก ที่จุดนั้นห่างจากแกนดิ่ง ส่วนจานวนที่ 2 ของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด y เป็นระยะตั้งฉากที่จุดนั้นห่างจากแกนนอน ส่วนที่ 3 ของคู่อันดับเรียกว่า พิกัด z เป็นระยะห่างระหว่างแกนนอนกับแกนตั้ง 3. จุดพิกัด หมายถึง จานวนจริง 3 จานวนซึ่งเป็นคู่ลาดับ ที่แทนจุดจุดหนึ่ง บนระนาบ จานวนแรกของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด x เป็นระยะตั้งฉาก ที่จุดนั้นห่างจากแกนดิ่ง ส่วนจานวนที่ 2 ของคู่ลาดับเรียกว่า พิกัด y เป็นระยะตั้งฉากที่จุดนั้นห่างจากแกนนอน ส่วนที่ 3 ของคู่อันดับเรียกว่า พิกัด z เป็นระยะห่างระหว่างแกนนอนกับแกนตั้ง ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้คิดค้นสื่อการเรียนการสอนที่แปลกใหม่ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการหาพิกัด ต่างๆของเวกเตอร์บนแกนต่าง ๆ 2. เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระเบียบ 3. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม ฝึกการคิดอย่างมีระบบระเบียบ มีแบบแผน สร้างความเชื่อมั่นในตัวเอง แสดงความสามารถตามศักยภาพของตน นาความคิด สร้างสรรค์ มาประยุกต์ใช้ในการเรียนคณิตศาสตร์ ให้น่าสนใจและสนุกสนานเพิ่มมากขึ้น