ݺߣ
Submit Search
ตลาด (1)
•
0 likes
•
1,963 views
P
Ponpirun Homsuwan
Follow
การตลาด
Read less
Read more
1 of 15
Download now
Download to read offline
More Related Content
ตลาด (1)
1.
เราสามารถแบ่งความหมายของตลาดออกเป็น 2 ลักษณะ
คือ ความหมายของตลาด บทที่ 5 ตลาด (Market)
2.
1. ความหมายทั่วไป โดยทั่วไปตลาดหมายถึง
“สถานที่ที่ผู้ซื้อกับผู้ขายมาพบปะกัน เพื่อ ตกลงซื้อขายสินค้านั้น” 2. ความหมายในทางเศรษฐศาสตร์ ในวิชาเศรษฐศาสตร์ ตลาด หมายถึง “การ ซื้อขายสินค้าและบริการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือภาระทางการค้า”
3.
ขนาดของตลาด หมายถึง ขอบเขตการค้าของสินค้าใดสินค้าหนึ่ง
ซึ่งตามปกติตลาดสินค้า ชนิดใด ชนิดหนึ่งจะกว้างหรือแคบขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ ขนาดของตลาด
4.
1. การคมนาคมและเทคโนโลยีการสื่อสาร การนา สินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคได้นั้นต้องอาศัยการขนส่ง
ถ้าการ ขนส่งกระทาได้รวดเร็ว ปลอดภัย เสียค่าขนส่งถูก ผู้ผลิตหรือผู้ขาย ก็สามารถส่งสินค้าออกไปขายไกลๆ ได้ ตลาดก็จะมีอาณาเขต กว้างขวาง 2. ลักษณะของสินค้า สินค้าบางชนิดมีตลาดแคบเนื่องจาก ลักษณะของสินค้านั้นๆ ได้แก่สินค้าที่เน่าเสียง่านหรือแตกง่าย ทาให้ไม่ สามารถส่งไปขายในพื้นที่ห่างไกลได้
5.
4. ความต้องการของสินค้า สินค้าที่เป็นที่ต้องการของ คนโดยทั่วไป
ย่อมทาให้ตลาดสินค้าชนิดนั้น มีอาณาเขตกว้างขวาง เป็นที่ต้องการเฉพาะคนบางกลุ่ม หรือ บางท้องถิ่นเท่านั้น ย่อมทาให้ ตลาดสินค้านั้นมีอาณาเขตแคบ 3. นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลนับว่าเป็นสาเหตุ สาคัญในการกาหนดอาณาเขตของตลาด เช่น กาหนดโควตาส่งออก หรือการขึ้นอัตราภาษี ส่งออก สาหรับสินค้าบางชนิด ทาให้ตลาดสินค้า ชนิดนั้นมีอาณาเขตแคบลง
6.
หน้าที่ของตลาดจาแนกออกได้ดังนี้ 1. รวมรวบและจัดซื้อสินค้า หน้าที่ประการแรกของตลาด คือ
รวบรวมและจัดซื้อสินค้าและบริการต่างๆ มาจาหน่ายผู้บริโภค ใน ปริมาณที่พอดีกับความต้องการ 2. การแปรรูป หมายถึง การทาให้สินค้าอยู่ในรูปที่พร้อม ที่จะบริโภค เช่น แปรรูปเยื่อไม่ไผ่ให้เป็นกระดาษ เป็นต้น หน้าที่ของตลาด
7.
3. เก็บรักษาสินค้า การจัดจาหน่ายสินค้าจาเป็นต้อง คานึงถึงการเก็บรักษาสินค้า
ทั้งนี้เพราะสินค้านามาจาหน่ายแก่ ผู้บริโภคนั้นมิได้จาหน่ายหมดในคราวเดียวกันเสมอไป นอกจากนี้ พ่อค้าอาจกักตุนสินค้าไว้เพื่อเก็งกาไรอีกด้วย 4. การคัดมาตรฐานสินค้า หมายถึง การกาหนด รูปลักษณะคุณสมบัติหรือแบบสินค้า แล้วคัดเลือกสินค้าที่มีขนาด เดียวกันไว้ในกลุ่มเดียวกัน การกาหนดมาตรฐานสินค้า
8.
5. การขาย หน้าที่ต่างๆ
ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ยังไม่สามารถทาให้ สินค้าถึงมือผู้บริโภคได้ การขายเป็นหน้าที่ของตลาดที่เกี่ยวกับการโอน หรือ เปลี่ยนมือสินค้า จากผู้ขายไปยังผู้บริโภค 6. การขนส่ง เมื่อมีการเปลี่ยนมือของสินค้า จากผู้ขายไปยัง ผู้บริโภค ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ของสินค้าด้วย นั่นคือ เมื่อสินค้ามี การตกลงซื้อขาย จากโรงงาน ไปยังผู้ขายส่ง จากผู้ขายส่งไปยังผู้ขายปลีก และจากผู้ขาย ปลีกไปยังผู้บริโภค การเปลี่ยนมือในสินค้าระบบต่างๆ ย่อมมี การขนส่งมาเกี่ยวข้อง
9.
8. การป้ องกันการเสี่ยงภัย
ในระหว่างที่มีการซื้อขายอาจเกิด การแตกหักเสียหาย หรือมีการเสื่อมคุณภาพของสินค้า หรือราคาสินค้า ลดต่าลงเนื่องจากภาวะตลาดเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจาก อัคคีภัย โจรกรรม อาจป้องกันได้โดยการประกันภัย เช่น ประกันราคา สินค้า เป็นต้น 7. การเงิน หน้าที่นี้เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องเงิน และสินเชื้อที่ เกิดขึ้นในขั้นตอนต่างๆ ที่เกี่ยวกับการนาสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ได้แก่ การรวบรวมและจัดซื้อ การเก็บรักษา การซื้อ การขาย เป็นต้น ล้วน ต้องใช้เงินในการดาเนินธุรกิจทั้งสิน
10.
1. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์ต้องมีลักษณะทั้ง 4
ประการ ดังนี้ 1) มีผู้ซื้อและผู้ขายจานวนมาก 2) สินค้าที่ซื้อขายมีลักษณะเหมือนกัน หมายความว่าสินค้าอย่างเดียวกันของผู้ขายแต่ละราย จะต้องเหมือนกันทุกประการ จนผู้ซื้อคิดว่าซื้อกับใครก็ได้ทั้งนั้น ประเภทของตลาด
11.
4) การติดต่อซื้อขายกระทาได้สะดวกรวดเร็ว สินค้าสามารถ
เคลื่อนย้ายไปยังที่ต่างๆ ได้สะดวก 3) ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องมีความรอบรู้ในภาวะตลาดอย่างสมบูรณ์ หมายความว่า ผู้ซื้อและผู้ขาจะต้องติดตามทุกเหตุการณ์และการเคลื่อนไหว ในตลาดตลอดเวลา เช่น จะต้องรู้ว่าในขณะใดขณะหนึ่งสินค้าชนิดนั้นจะมี ปริมาณซื้อขายทั้งสิ้นเท่าไร
12.
2. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตามที่กล่าวมาแล้วว่า ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
เป็นตลาดที่หาได้ยาก ดังนั้นตลาด ตามสภาพที่แท้จริง จึงเป็นตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ ทั้งนี้เพราะสินค้าที่ซื้อขายกันในตลาดแม้ว่ากะเป็น ชนิดเดียวกัน
13.
แต่ก็มีลักษณะแตกต่างกันบ้างไม่มากก็น้อย แบ่งออกเป็น 3
ประเภท คือ 1. ตลาดที่มีลักษณะกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด มี 2 ประเภท - ผู้ซื้อและผู้ขายมีเป็นจานวนมาก ผู้ซื้อและผู้ขายทุกคนจะซื้อขายสินค้าโดยอิสระต่ออันไม่มีอิทธิพล เหนือคนอื่น ลักษณะข้อนี้เป็นลักษณะของตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
14.
- สินค้าที่มีขายมีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งอาจแตกต่างกันโดยยี่ห้อ
คุณภาพ การโฆษณา ขนาด การ บรรจุหีบห่อ เช่น ผงซักฟอก 2. ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย ตลาดประเภทนี้จะมีผู้ขายน้อยลักษณะของผู้ขายน้อย ราย คือ ถ้าผู้ขายรายใดเปลี่ยนแปลงราคาขายจะกระทบกระเทือนผู้ชายรายอื่น เช่น บริษัทค้าน้ามัน เป็นต้น
15.
3. ตลาดที่มีผู้ขายเพียงรายเดียวหรือตลาดผูกขาด ตลาดประเภทนี้จะมีผู้ผลิตหรือ ผู้ขายเพียงรายเดียวเท่านั้น
ทาให้ผู้ขายสามารถต่อราคาขายได้ตามชอบใจ ทั้งนี้เพราะผู้ซื้อไม่สามารถซื้อ จากที่อื่นได้แล้ว เช่น ไฟฟ้ าของการไฟฟ้ านครหลวง เป็นต้น โดย คุณครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง อ้างอิงจาก เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น อ.ขวัญตา จั่นอิ๊ด
Download