ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ 1
หลักการทางานของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคาสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ใน
หน่วยความจา เพื่อเตรียมประมวลผลข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การนาข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีอยู่หลายประเภท
ด้วยกัน
1. แป้นพิมพ์
แป้นพิมพ์ หรือ คียบอร์ด เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทุกเครื่อง
จาเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนาข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือใกล้เคียง มีแป้นต่างๆ
ประมาณร้อยแป้นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับผังแป้นพิมพ์)
2. เมาส์ (Mouse)
Mouse เป็น อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็น
การทางาน โดยทั่วไปจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยัง
ตาแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสาหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก หรือ
เลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอ
3. เครื่องจานแม่เหล็ก (Disk Drive)
เป็นเครื่องที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลบนจานแม่เหล็ก มีหลักการ
ทางานคล้ายเครื่องเล่นจานเสียงธรรมดาทั่ว ๆ ไป แต่แทนที่จะมีเข็มกลับมี
หัวอ่านและหรือหัวบันทึก (read-write head) คล้ายเครื่องแถบแม่เหล็กที่
เคลื่อนที่เข้าออกได้ เครื่องจานแม่เหล็ก มีสองแบบ คือ แบบจานติดอยู่กับ
เครื่อง (fixed disk) และแบบยกจานออกเปลี่ยนได้ (removable disk)
4. Hard Drive
Hard drive หรือ Hard disk เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการเก็บ
ข้อมูลของ Operating system (OS) หรือ Windows รวมถึงโปรแกรม
ใช้งานต่างๆและข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ หน่วยความจุของ Hard disk คิด
เป็น Gigabyte หรือ GB
5. CD-Rom
ซีดีรอม CD ROM ย่อมาจาก (Compact disc Read Only Memory)
เป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดหน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Media)
ลักษณะเป็นแผ่นจานกลมคล้ายแผ่นเสียงหรือแผ่นคอมแพ็คดิสก์สาหรับฟังเพลง
ข้อดีคือ เก็บข้อมูลได้ปริมาณมากกว่าดิสก์เก็ต ซีดีรอม 1 แผ่นสามารถเก็บข้อมูล
เทียบเท่ากับดิสก์เก็ตความจุ 1.44 MB จานวน 600 แผ่น
6. Card Reader
อุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อระหว่างหน่วยความจาภายนอกแบบ
แฟลชการ์ดหรือมีเดียการ์ด กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยพอร์ต
USB ในการทางานโดยจะรองรับคุณสมบัติของหน่วยความจาตาม
ผู้ผลิต
7. Scanner
อุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนา-
ลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษา
และผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด
หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ
ทาหน้าที่ในการคานวณและประมวลผล แบ่ง
ออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ
- หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการดูแล
ควบคุมลาดับขั้นตอนของการประมวลผล และการ
ทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผล
กลาง และช่วยประสานงานระหว่างหน่วย
ประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์
ในการแสดงผล และหน่วยความจาสารอง
- หน่วยคานวณและตรรก ทาหน้าที่ในการ
คานวณแลเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจาก
หน่วยควบคุม และหน่วยความจา
ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆ ที่รับจาก
ภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผลและยังเก็บผลที่ได้จากการ
ประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็น
- ROM หน่วยความจาแบบถาวร
รอม คือหน่วยความจาชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูล
อยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับ ไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง
ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป
- RAM หน่วยความจาแบบชั่วคราว
RAM (Random Access Memory) เป็นสถานที่ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการโปรแกรมประยุกต์ และข้อมูลที่คาสั่งใช้งาน
เก็บไว้เพื่อทาให้ ไมโครโพรเซสเซอร์นาไปประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว
สามารถอ่านและเขียนได้รวดเร็วกว่าที่เก็บชนิดอื่น ของเครื่องคอมพิวเตอร์
- หน่วยความจาสารอง
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจา
หลัก แต่ต่างจากหน่วยความจาหลัก คือ หน่วยความจารอง สามารถจัดเก็บ
ข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูล
และโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคานวณและ
ประมวลผล สาหรับอุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้นั้นมี
ต่อไปนี้
จอภาพ (Monitor)
ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้
ผู้ใช้เห็นได้ทันที มีรูปร่างคล้ายจอภาพ
ของโทรทัศน์ บนจอภาพประกอบด้วย
จุดจานวนมาก เรียกจุดเหล่านั้นว่า พิก
เซล (Pixel) ถ้ามีพิกเซลจานวนมากก็จะ
ทาให้ผู้ใช้มองเห็นภาพบนจอได้ชัดเจน
มากขึ้น จอภาพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งได้
เป็นสองประเภท คือ จอภาพแบบ
ซีอาร์ที และ จอภาพแบบแอลซีดี
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงที่จะผลิต
ข้อความและ/หรือกราฟิกของเอกสารที่
เก็บไว้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ออกมา
ในสื่อทางกายภาพเช่นกระดาษหรือ
แผ่นใส เครื่องพิมพ์ส่วนมากเป็น
อุปกรณ์ต่อพ่วงทั่วไปและเชื่อมต่อด้วย
สายเคเบิลเครื่องพิมพ์

More Related Content

บทที่ 1