ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
เป็นปากใบของพืชทั่วไป มีเซลล์คุมอยู่ในระดับเดียวกับเอพิเดอร์มิส
 เจริญอยู่ในที่ๆ มีนาอุดมสมบูรณ์พอสมควร (mesophyte)
อยู่ลึกเข้าไปในเนือใบ เซลล์คุมอยู่ลึกกว่าชันเอพิเดอร์มิส
 พบในพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง(xerophyte)เช่นพืชทะเลทราย
และพืชป่าชายเลน( halophyte) เช่นโกงกาง
เป็นปากใบที่มีเซลล์คุมอยู่สูงกว่าระดับเอพิเดอร์มิส
 ช่วยให้นาระเหยออกจากปากใบได้เร็วขึน
 พบในพืชที่เจริญอยู่ในที่มีนามากหรือชืนแฉะ(hydrophyte)
พืชใบเลียงเดี่ยวบางชนิดเช่นหญ้า ข้าวโพด
 เอพิเดอร์มิสมีเซลล์ขนาดใหญ่ และผนังเซลล์บางเรียกว่าบัลลิฟอร์มเซลล์
(bulliform cell)
 ช่วยทาให้ใบม้วนงอได้ เมื่อขาดนา ช่วยลดการคายนาของพืชให้น้อยลง
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บางชนิดมีเอพิเดอร์มิสหนามากกว่า1 ชันเรียกว่าmultiple epidermis
 พบในพืชที่แห้งแล้ง แถวที่อยู่ถัดเข้าไปเรียกว่าไฮโพเดอร์มิส(hypodermis)
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
เป็นการคายนาที่กาจัดไอนาออกมาทางปากใบ
เป็นทางที่พบการคายนามากที่สุด
พบที่ผิวใบที่มีcuticleฉาบอยู่ข้างนอก
นาแพร่ออกทางนีได้ยาก จึงเกิดการคายนาได้น้อย
เป็นการคายนาที่เกิดขึนที่ lenticel(รอยแตกตามลาต้น)
ซึ่งเกิดขึนน้อยมาก
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
เป็นการคายนาในรูปหยดนาเล็กๆ ทางรูเปิดเล็กๆ ตามปลายเส้นใบที่ขอบใบ
เรียกว่า โฮดาโธด (hydathode)
ซึ่งเกิดขึนเมื่ออากาศมีความชืนมากๆอุณหภูมิต่าและลมสงบ
แสงสว่างถ้าความเข้มข้นของแสงสว่างมากจะช่วยให้การคายนามีอัตราสูงขึน
ความชืนถ้าหากความชืนในบรรยากาศมีน้อยการคายนาเกิดขึนได้มาก
ลม ช่วยพัดพาไอนาที่ระเหยออกมาจากใบ
นาในดิน ถ้ามีนามากก็เหมาะสมกับการคายนา
ความกดดันของบรรยากาศ ถ้าความกดดันของบรรยากาศต่าไอนาแพร่ออกไป
จากใบได้ง่าย
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
พืชที่ไม่มีท่อลาเลียงเช่นมอส เซลล์ทุกเซลล์ได้รับนาอย่างทั่วถึงโดยการแพร่
จากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
พืชที่มีྺȨึϹหญ่จาเป็Ȩ้องมีท่อลา๶ลียงจากรากขึȨปเลียง๶ซลล์ที่อยู่ปลายยอด
นาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญภายในเซลล์พืช
นาช่วยให้เซลล์พืชเต่งทาให้เซลล์มีรูปร่างคงตัว
นาเป็นตัวทาละลายเช่นละลายแร่ธาตุต่างๆ
นาเป็นตัวร่วมในปฏิกิริยาเคมีในเซลล์
นาทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของเซลล์ และลาต้นพืช
รากพืชทั่วไปจะมีส่วนเรียกว่าขนรากเพื่อเพิ่มพืนที่สัมผัสกับนา
 นาในดินก็จะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ที่ผิวของราก
 ขนรากดูดนาโดยกระบวนการออสโมซิส
 ปัจจัยสาคัญคือความแตกต่างྺองความ๶ข้มྺ้นของสารละลายใȨินกับใȨาก
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
วิถีอโพพลาส(apoplasmicpathway)
เป็นการเคลื่อนที่ของนาที่ผ่านช่องระหว่างผนังเซลล์
 ในชันคอร์เทกซ์และผ่านเซลล์ที่ไม่มีชีวิตคือเทรคีดและเวสเซล
เป็นระบบที่ผ่านไซโทพลาซึมของเซลล์ ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยท่อเล็กๆ
เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา(Plastmodesmata)
เมื่อนาเคลื่อนที่มาถึงเอนโดเดอร์มิสซึ่งมีแคสพาเรียน สตริพ( ซูเบอร์ริน)กันอยู่
นาจึงต้องผ่านทางไซโทพลาซึม(symplast)จึงจะเข้าไปในไซเลมได้
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
แรงดันราก(Rootpressure)
 เกิดจากนาในท่อไซเล็มมีความเข้มข้นสูงกว่านาในดิน
 จึงเกิดกระบวนการออสโมซิสของนาในดินสู่ราก
เป็นที่มาของแรงดันในท่อไซเล็มจึงดันให้นาเข้าไปในท่อไซเล็มได้
 คือแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนากับผนังด้านข้างของหลอดแก้วนัน
เรียกว่าแรงแอดฮีชัน(Adhesion)
 ส่วนแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนาด้วยกันเรียกว่าแรงโคฮีชัน(Cohesion)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
 เกิดจากการที่ใบคายนาออกไปเรื่อยๆ ทาให้เซลล์ของใบขาดนาไป
 จึงเกิึϹรงึϸงนาทาให้Ȩ๶คลื่อนที่ต่อ๶Ȩ่อง
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
การลาเลียงธาตุอาหารต่างๆ มีความซับซ้อนมากกว่าการลาเลียงนา
เพราะเซลล์มักไม่ยอมให้ธาตุอาหารเคลื่อนที่ผ่านเข้าออกได้โดยอิสระ
 ทาได้ 2 วิธี คือลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน( passive transport)
และการลาเลียงแบบใช้พลังงาน (active transport)
พบที่การแพร่ของธาตุอาหารจากภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นสูงกว่าไปยัง
ภายในเซลล์ที่มีความเข้มข้นต่ากว่า
การเคลื่อนที่ของธาตุอาหารแบบอาศัยพลังงานทาให้พืชสามารถลาเลียง
ธาตุอาหารจากภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นต่ากว่า เข้ามาภายในเซลล์ได้
จึงทาให้พืชสะสมธาตุอาหารบางชนิดไว้ได้
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
“พืชนันต้องการธาตุอาหารแต่ละชนิดในปริมาณไม่เท่ากันการให้ปุ๋ยเป็นการ
เพิ่มธาตุอาหารแก่พืชถ้าให้มากเกินความต้องการของพืชจะเป็นการสินเปลือง
และ อาจทาให้พืชตายได้
ธาตุที่พืชต้องการเป็นปริมาณมาก(macronutrients)มี 9 ธาตุ ได้แก่
C H O N P K CaMg และ S
ธาตุที่พืชต้องการปริมาณเพียงเล็กน้อย(micronutrients)ได้แก่
B FeCuZnMn Mo ClและNi

More Related Content

บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)