ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กิจกรรมที่11
1. กรณีศึกษาดังกล่าวเป็นการวิจัยประเภทใด
กรณีศึกษาของการจัดการความรู้ด้านแผนชุมชนเรื่องการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน:
กรณีศึกษาการจัดทาแผนชุมชนเทศบาลตาบลบางพระจังหวัดชลบุรีเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
(ParticipatoryActionResearch) ของประชาชน10 ชุมชนในการจัดทาแผนชุมชน
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีอะไรบ้าง
ผู้วิจัยทาการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสังเกตทั้งแบบไม่มีส่วนร่วมและมีส่วนร่วมการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์ทั่วไปกา
รจดบันทึกภาคสนาม(Fieldnote)
การค้นหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆรวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากระบบสารสนเทศและการปฏิบัติการร่วมจัดทาแผนแบบมีส่วนร่วมของชุ
มชนคณะผู้วิจัยทาการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการต่างๆดังนี้
2.1 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและมีส่วนร่วมโดยคณะผู้วิจัยเป็นผู้กระทาด้วยตนเองอย่างใกล้ชิดในกิจกรรมและเรื่องราวต่างๆจนก
ระทั่งเข้าใจและสามารถอธิบายสรุปได้
2.2 การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์ทั่วไปประกอบด้วยการซักถามพูดคุยถึงเรื่องราวต่างๆทั้งด้านบริบทชุมชนและเรื่องราวต่า
งๆที่จาเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและจาเป็นซึ่งต้องใช้เทคนิคการสัมภาษณ์พูดคุยด้วยความระมัดระวังและเป็นกันเอง
2.3 การจดบันทึกภาคสนาม(Field
note)คณะผู้วิจัยจดรวบรวมข้อมูลและบันทึกเทปถอดเทปจากการสังเกตการสัมภาษณ์เพื่อมิให้ลืมข้อมูลและทาการสรุปข้อมูลที่ได้ทุ
กวันจากการสังเกตและสัมภาษณ์ภาคสนามและเพื่อการทบทวนให้ทราบได้ว่าได้ข้อมูลเพียงพอหรือไม่
2.4 การค้นหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆรวมถึงการสืบค้นข้อมูลจากระบบสารสนเทศ(IT)
เช่นข้อมูลด้านบริบทของชุมชนเช่นประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านวัฒนธรรมประเพณีต่างๆภูมิปัญญาและการสืบทอดเป็นต้น
3. ท่านคิดว่าผลการวิจัยตอบวัตถุประสงค์หรือไม่อย่างไร
จากการวิจัยพบว่าผลการวิจัยได้ตอบตรงวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน
กล่าวคือกรณีศึกษาของการจัดการความรู้ด้านแผนชุมชนเรื่องการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน:
กรณีศึกษาการจัดทาแผนชุมชนเทศบาลตาบลบางพระจังหวัดชลบุรีมีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนในเขตเทศบาลตาบลบางพระจังหวัดชลบุรี
2) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทาแผนชุมชนระยะ 3ปีให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
3)
เสริมสร้างให้ชุมชนมีความสามารถในการจัดทาแผนแม่บทของชุมชนและโครงการพัฒนาชุมชนโดยการมีส่วนร่วมได้อย่างสมบูรณ์แล
ะมีแนวทางพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อสร้างความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้และ
4)
ประชาชนในชุมชนและบุคลากรของเทศบาลตาบลบางพระจังหวัดชลบุรีได้เรียนรู้มีทักษะและประสบการณ์ในการทางานพัฒนาชุมชน
ร่วมกันโดยผลการวิจัยพบว่า
1.
สภาพปัญหาและความต้องการทั่วไปของชุมชนในเทศบาลตาบลบางพระซึ่งเป็นชุมชนเมืองและชุมชนกึ่งเมืองมีสภาพโครงสร้างและสั
งคมค่อนข้างดีมีปัญหาและความต้องการด้านโครงสร้างชุมชนและด้านสังคมเพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีอยู่เช่นไฟฟ้ าแสงสว่างสาธารณะการเ
พิ่มรายได้และการส่งเสริมสุขภาพ
2. ประชาชนมีส่วนร่วมและมีความสามารถในการจัดทาแผนชุมชนระยะ3ปีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนทั้ง10
ชุมชนโดยการมีส่วนร่วมได้อย่างสมบูรณ์และมีแนวทางพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อสร้างความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
3.ประชาชนในชุมชนและบุคลากรของเทศบาลตาบลบางพระจังหวัดชลบุรีได้เรียนรู้มีทักษะและประสบการณ์ในการทางานพัฒนาชุม
ชนร่วมกันมีกิจกรรมการพัฒนาระดับท้องถิ่นที่เป็นรูปธรรมชัดเจนและมีความพร้อมที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดาเนินงานพัฒนาอย่างยั่งยื
นต่อไปได้เป็นอย่างดี

More Related Content

กิจกรรมที่11