งาȨำเสนอ12
- 2. ความเป็นมาของปัญหา
การบาดเจ็บศรีษะก่อให้เกิดความกระทบกระเทือนต่อหนังศรีษะ
กะโหลกศรีษะ และเนื้อเยื่อภายใน ทา ให้เกิดการบกพร่องในการทา งานของ
ระบบความจา ความรู้สึก ผูป้่วยจะมีความรู้สึกตัวลดลง ไม่สามารถ
เคลื่อนไหวร่างกายไดด้ว้ยตัวเอง และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอ้น ได้แก่
แผลกดทับ
จากการศึกษางานวิจัยทั่วๆไป พบว่ามีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการ
ป้องกันแผลกดทับ ดังนั้นกลุ่มขา้พเจา้จึงสนใจที่จะทา วิจัยเรื่องนี้ เพื่อนาไป
เป็นแนวปฎิบัติต่อไป
- 5. ความรุนแรงของการเกิดแผลกดทับ
แบ่งเป็น 4 ระดับ
ระดับที่ 1 ผิวหนังบริเวณที่ถูกกดทับอุ่นขึน้ มีรอยแดง
ระดับที่ 2 ผิวหนังบริเวณนัน้ มีแผลถลอกเป็นตุ่มพอง อาจมีนา้เหลืองซึม
ระดับที่ 3 แผลเป็นลุมลึก ขึน้ มีนา้เหลืองหรือนา้หนองจากแผล
ระดับที่ 4 เนือ้เยื่อถูกทาลายอย่างมากลึกถึงชัน้กล้ามเนือ้ มีสีม่วงคลา้
หรือดา
- 10. การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยบาดเจ็บศรีษะ
(ต่อ)
- การดูแลผา้ปูที่นอนให้เรียบตึงเสมอ เพื่อลดแรงเสียดทานระหว่าง
ผิวหนังกับผา้ปู
- ไม่ทา การนวดผิวหนังในบริเวณที่มีรอยแดงและเสี่ยงต่อการเกิด
แผลกดทับ
- เปลี่ยนท่านอนบ่อยขึ้น ประมาณ 2 ชั่วโมงต่อครั้ง
- ควรใชท้ี่นอนที่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ที่นอนลม ที่นอนน้า ที่
นอนฟองน้า
- 11. สรุปผลการศึกษา
จากการศึกษางานวิจัย เรื่องผลของการส่งเสริมการดูแลของ
ครอบครัวต่อการป้องกันการเกิดแผลกดทับและขอ้ยึดติดในผูป้่วยบาดเจ็บ
ศรีษะ ทา ให้ทราบวิธีการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผูป้่วยบาดเจ็บศรีษะ อีก
ทงั้ยังสามารถทราบถึงระดับความรุนแรงในการเกิดแผลกดทับในผูป้่วย
บาดเจ็บศรีษะ ทา ให้ครอบครัวหรือผูดู้แลผูป้่วยทราบถึงวธิีการป้องกันการเกิด
แผลกดทับอย่างถูกหลัก อีกทงั้ยังทา ให้ลดอัตราการเกิดแผลกดทับในผูป้่วย
บาดเจ็บศรีษะอีกดว้ย
- 12. สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว สุธิษา หาดเก็บ รหัส 5717521001148
2. นางสาว วันอาอีซะฮ์นาแซ รหัส 5717521001139
3. นางสาว รอยฮาน มาหมัด รหัส 5717521001148
4. นางสาว นารีษา ขะมิรักษา รหัส 5717521001148
5. นางสาว เสาวลักษณ์ ราโอบ รหัส 5717521001148
กลุ่ม 57087.171