ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กฎหมายในชีวิตประจาวัน
การบรรยายครั้งที่ 12
บุคคล
• บุคคลธรรมดา สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก
และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
• นิติบุคคล เป็นบุคคลตามกฎหมาย
– ทบวงทางการเมือง กระทรวง ทบวง กรม มหาวิทยาลัย
– วัดในพระพุทธศาสนา
– ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียน บริษัท สมาคม มูลนิธิ
ผู้เยาว์
• บุคคลจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อ
1. เมื่อมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์
2. เมื่อทาการสมรส
• การจากัดความสามารถของผู้เยาว์ ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับ
ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ไม่เช่นนั้น นิติกรรมนั้นจะเป็นโมฆียะ
เว้นแต่
1. ทาพินัยกรรม เมื่ออายุ 15 ปี
2. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เยาว์ฝ่ายเดียว
3. นิติกรรมที่ต้องทาเองเฉพาะตัว
4. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูป
5. เมื่อผู้เยาว์ได้รับอนุญาตให้ประกอบการค้า
สัญญาซื้อขาย
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงจะให้ราคาแก่ผู้ขาย โดยผู้ขายตกลงจะโอนกรรมสิทธิ์
ในทรัพย์นั้นให้ผู้ซื้อ กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อนับแต่เวลาทาสัญญาซื้อขาย
• การใช้ราคาต้องชาระเป็นเงินเท่านั้น
• สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคา 20,000 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็น
หนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิดมิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้
• สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็น
หนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
สัญญากู้ยืมเงิน
• หลัก ในการกู้ยืมเงินจานวนเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
ลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ หลักฐานนั้นมีเมื่อไหร่ก็
ได้ก่อนฟ้ องคดี
• การคิดดอกเบี้ย
– ดอกเบี้ยเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้
– คิดดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปีไม่ได้ ไม่เช่นนั้นเป็นโมฆะ
– หากกาหนดให้คิดดอกเบี้ยแต่ไม่ได้มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ย ให้คิด
ร้อยละ 7.5 ต่อปี (ม.7)
เช่าทรัพย์
คือ สัญญาซึ่งผู้ให้เช่า ตกลงให้ผู้เช่า ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินในระยะเวลามี
จากัด และผู้เช่าตกลงให้ค่าเช่า
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาต่างตอบแทน
• อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้
• การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้
• สิทธิในการใช้หรือรับประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่าต้องมีการกาหนดระยะเวลาอันเป็นการจากัด
• ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่ว่าจะเช่านานแต่ไหน
แบบ
- โดยทั่วไปไม่มีแบบ เว้นแต่
- เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิด
ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้
- เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน โมฆะ
เช่าซื้อ
คือ สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขายหรือจะ
ให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของผู้เช่า โดยมีเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ให้เงินครบตามที่
กาหนด
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาต่างตอบแทน
• อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้
• ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น
• นอกจากมีสิทธิครอบครองแล้วอาจได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตามสัญญา
แบบ
• ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็น
โมฆะ
ความแตกต่างระหว่าง เช่าทรัพย์- เช่าซื้อ
เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่
ว่านานแต่ไหน
ได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตาม
สัญญา
การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สิน
อย่างอื่นก็ได้
ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น
เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมี
หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้อง
รับผิด ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้
เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็น
หนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่
ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทั้งสอง
ฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็นโมฆะ
จานอง
คือ สัญญาซึ่งผู้จานองเอาทรัพย์สินตราไว้แก่ผู้รับจานอง เป็นประกันการ
ชาระหนี้โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินให้ผู้รับจานอง
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาอุปกรณ์
• ทรัพย์ที่จานอง เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ หรือ
สังหาริมทรัพย์ที่กฎหมายกาหนดให้มีการจดทะเบียน
• ผู้จานองไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ยังคงมีกรรมสิทธิ์อยู่
• ผู้จานองในสัญญาจานองจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้
• ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
การบังคับชาระหนี้ เจ้าหนี้ต้องฟ้ องร้องเพื่อบังคับจานอง โดยนาทรัพย์สิน
นั้นไปขายทอดตลาด
จานา
คือ สัญญาซึ่งผู้จานา ส่งมอบสังหาริมทรัพย์ให้ผู้รับจานาเพื่อเป็น
ประกันการชาระหนี้
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาอุปกรณ์
• ทรัพย์ที่จานา เป็นสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
• ผู้จานาต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้แก่ผู้รับจานา
• ผู้จานาในสัญญาจานาจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้
การบังคับชาระหนี้ บังคับจานาได้เลยไม่ต้องฟ้ องร้อง โดยเอา
ทรัพย์สินไปขายทอดตลาดได้เองไม่ต้องอาศัยคาสั่งศาล
ค้าประกัน
คือ สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ค้าประกัน ผูกพันตนต่อ
เจ้าหนี้คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาอุปกรณ์
• ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้าประกันมิฉะนั้นฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้
การบังคับชาระหนี้ถ้าลูกหนี้ไม่ชาระหนี้เจ้าหนี้ชอบที่จะเรียกให้ผู้ค้า
ประกันชาระหนี้ได้เมื่อนั้น แต่ผู้ค้าประกันเกี่ยงได้ หากพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้ยังมี
ทางที่จะชาระได้ และการบังคับชาระจากลูกหนี้เป็นการไม่ยาก
- เมื่อผู้ค้าประกันชาระหนี้แทนลูกหนี้แล้วสามารถไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ได้
- ข้อตกลงที่ให้ผู้ค้าประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมเป็นโมฆะ
ค้าประกัน- จานอง-จานา
ค้าประกัน จานอง จานา
ทรัพย์สินทุกอย่าง อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์
ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ส่งมอบทรัพย์ที่จานา
บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก
เรียกให้ผู้ค้าฯ ชาระแทนได้ ฟ้ องร้องบังคับจานอง ขาย
ทอดตลาด
บังคับจานาได้เลย ขาย
ทอดตลาด
ทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ
ผู้ค้าฯ =ฟ้ องไม่ได้
ทาเป็นหนังสือ+จด
ทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่= โมฆะ
ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้
ได้
ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้
ไม่ได้
ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้
ไม่ได้
ทายาทโดยธรรมตาม ม.1629
1 ผู้สืบสันดาน
2 บิดามารดา
3 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
4 พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
5 ปู่ ย่า ตา ยาย
6 ลุง ป้ า น้า อา
ทายาทโดยธรรมภายใต้บทบัญญัติพิเศษ แห่ง ม.1635
คู่สมรส
หลัก ญาติสนิทตัดญาติห่าง
หลัก ทายาทในชั้นเดียวกันได้ส่วนแบ่งเท่ากัน
หลักการได้รับส่วนแบ่งของคู่สมรส
• หากมีทายาทชั้นผู้สืบสันดาน คู่สมรสได้ส่วนแบ่งเท่าชั้น
ผู้สืบสันดาน
• หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 2 หรือ ชั้นที่ 3 คู่สมรสได้ส่วนแบ่งกึ่ง
หนึ่ง
• หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 4 ชั้นที่ 5 หรือชั้นที่ 6 คู่สมรสได้ส่วน
แบ่งสองในสาม
ข้อสอบ
• นายชีพ เป็นบุตรโดยชอบของนายเสือกับนางสิงห์ ได้สมรสกับนาง
ลั่นทม มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ นายเอื้อกับนางสาวเกนหลง ต่อมานาง
ลั่นทมเสียชีวิต นายชีพจึงได้ไปอยู่กินกับนางรสสุคนธ์โดยไม่ได้จด
ทะเบียนสมรส และมีบุตรด้วยกันหนึ่งคน คือ นายเขมชาติ โดยนายชีพ
ได้ส่งเสียเลี้ยงดู ให้ใช้นามสกุล แต่ไม่ได้จดทะเบียนรับรองบุตร ต่อมา
นายชีพเสียชีวิตปรากฏว่ามีทรัพย์มรดก 6,000,000 บาท ทรัพย์ดังกล่าว
จะตกเป็นของใครบ้าง และได้จานวนเท่าไหร่ จงอธิบาย

More Related Content

กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12

  • 2. บุคคล • บุคคลธรรมดา สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย • นิติบุคคล เป็นบุคคลตามกฎหมาย – ทบวงทางการเมือง กระทรวง ทบวง กรม มหาวิทยาลัย – วัดในพระพุทธศาสนา – ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียน บริษัท สมาคม มูลนิธิ
  • 3. ผู้เยาว์ • บุคคลจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อ 1. เมื่อมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ 2. เมื่อทาการสมรส • การจากัดความสามารถของผู้เยาว์ ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับ ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ไม่เช่นนั้น นิติกรรมนั้นจะเป็นโมฆียะ เว้นแต่ 1. ทาพินัยกรรม เมื่ออายุ 15 ปี 2. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เยาว์ฝ่ายเดียว 3. นิติกรรมที่ต้องทาเองเฉพาะตัว 4. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูป 5. เมื่อผู้เยาว์ได้รับอนุญาตให้ประกอบการค้า
  • 4. สัญญาซื้อขาย สาระสาคัญ • เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงจะให้ราคาแก่ผู้ขาย โดยผู้ขายตกลงจะโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์นั้นให้ผู้ซื้อ กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อนับแต่เวลาทาสัญญาซื้อขาย • การใช้ราคาต้องชาระเป็นเงินเท่านั้น • สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคา 20,000 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็น หนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิดมิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ • สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็น หนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
  • 5. สัญญากู้ยืมเงิน • หลัก ในการกู้ยืมเงินจานวนเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ หลักฐานนั้นมีเมื่อไหร่ก็ ได้ก่อนฟ้ องคดี • การคิดดอกเบี้ย – ดอกเบี้ยเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ – คิดดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปีไม่ได้ ไม่เช่นนั้นเป็นโมฆะ – หากกาหนดให้คิดดอกเบี้ยแต่ไม่ได้มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ย ให้คิด ร้อยละ 7.5 ต่อปี (ม.7)
  • 6. เช่าทรัพย์ คือ สัญญาซึ่งผู้ให้เช่า ตกลงให้ผู้เช่า ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินในระยะเวลามี จากัด และผู้เช่าตกลงให้ค่าเช่า สาระสาคัญ • เป็นสัญญาต่างตอบแทน • อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้ • การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ • สิทธิในการใช้หรือรับประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่าต้องมีการกาหนดระยะเวลาอันเป็นการจากัด • ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่ว่าจะเช่านานแต่ไหน แบบ - โดยทั่วไปไม่มีแบบ เว้นแต่ - เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิด ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ - เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน โมฆะ
  • 7. เช่าซื้อ คือ สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขายหรือจะ ให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของผู้เช่า โดยมีเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ให้เงินครบตามที่ กาหนด สาระสาคัญ • เป็นสัญญาต่างตอบแทน • อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้ • ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น • นอกจากมีสิทธิครอบครองแล้วอาจได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตามสัญญา แบบ • ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็น โมฆะ
  • 8. ความแตกต่างระหว่าง เช่าทรัพย์- เช่าซื้อ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่ ว่านานแต่ไหน ได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตาม สัญญา การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สิน อย่างอื่นก็ได้ ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมี หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้อง รับผิด ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็น หนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทั้งสอง ฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็นโมฆะ
  • 9. จานอง คือ สัญญาซึ่งผู้จานองเอาทรัพย์สินตราไว้แก่ผู้รับจานอง เป็นประกันการ ชาระหนี้โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินให้ผู้รับจานอง สาระสาคัญ • เป็นสัญญาอุปกรณ์ • ทรัพย์ที่จานอง เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ หรือ สังหาริมทรัพย์ที่กฎหมายกาหนดให้มีการจดทะเบียน • ผู้จานองไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ยังคงมีกรรมสิทธิ์อยู่ • ผู้จานองในสัญญาจานองจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้ • ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ การบังคับชาระหนี้ เจ้าหนี้ต้องฟ้ องร้องเพื่อบังคับจานอง โดยนาทรัพย์สิน นั้นไปขายทอดตลาด
  • 10. จานา คือ สัญญาซึ่งผู้จานา ส่งมอบสังหาริมทรัพย์ให้ผู้รับจานาเพื่อเป็น ประกันการชาระหนี้ สาระสาคัญ • เป็นสัญญาอุปกรณ์ • ทรัพย์ที่จานา เป็นสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ • ผู้จานาต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้แก่ผู้รับจานา • ผู้จานาในสัญญาจานาจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้ การบังคับชาระหนี้ บังคับจานาได้เลยไม่ต้องฟ้ องร้อง โดยเอา ทรัพย์สินไปขายทอดตลาดได้เองไม่ต้องอาศัยคาสั่งศาล
  • 11. ค้าประกัน คือ สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ค้าประกัน ผูกพันตนต่อ เจ้าหนี้คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้ สาระสาคัญ • เป็นสัญญาอุปกรณ์ • ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้าประกันมิฉะนั้นฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้ การบังคับชาระหนี้ถ้าลูกหนี้ไม่ชาระหนี้เจ้าหนี้ชอบที่จะเรียกให้ผู้ค้า ประกันชาระหนี้ได้เมื่อนั้น แต่ผู้ค้าประกันเกี่ยงได้ หากพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้ยังมี ทางที่จะชาระได้ และการบังคับชาระจากลูกหนี้เป็นการไม่ยาก - เมื่อผู้ค้าประกันชาระหนี้แทนลูกหนี้แล้วสามารถไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ได้ - ข้อตกลงที่ให้ผู้ค้าประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมเป็นโมฆะ
  • 12. ค้าประกัน- จานอง-จานา ค้าประกัน จานอง จานา ทรัพย์สินทุกอย่าง อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ส่งมอบทรัพย์ที่จานา บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก เรียกให้ผู้ค้าฯ ชาระแทนได้ ฟ้ องร้องบังคับจานอง ขาย ทอดตลาด บังคับจานาได้เลย ขาย ทอดตลาด ทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ ผู้ค้าฯ =ฟ้ องไม่ได้ ทาเป็นหนังสือ+จด ทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่= โมฆะ ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้ ได้ ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้ ไม่ได้ ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้ ไม่ได้
  • 13. ทายาทโดยธรรมตาม ม.1629 1 ผู้สืบสันดาน 2 บิดามารดา 3 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4 พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน 5 ปู่ ย่า ตา ยาย 6 ลุง ป้ า น้า อา ทายาทโดยธรรมภายใต้บทบัญญัติพิเศษ แห่ง ม.1635 คู่สมรส
  • 14. หลัก ญาติสนิทตัดญาติห่าง หลัก ทายาทในชั้นเดียวกันได้ส่วนแบ่งเท่ากัน หลักการได้รับส่วนแบ่งของคู่สมรส • หากมีทายาทชั้นผู้สืบสันดาน คู่สมรสได้ส่วนแบ่งเท่าชั้น ผู้สืบสันดาน • หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 2 หรือ ชั้นที่ 3 คู่สมรสได้ส่วนแบ่งกึ่ง หนึ่ง • หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 4 ชั้นที่ 5 หรือชั้นที่ 6 คู่สมรสได้ส่วน แบ่งสองในสาม
  • 15. ข้อสอบ • นายชีพ เป็นบุตรโดยชอบของนายเสือกับนางสิงห์ ได้สมรสกับนาง ลั่นทม มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ นายเอื้อกับนางสาวเกนหลง ต่อมานาง ลั่นทมเสียชีวิต นายชีพจึงได้ไปอยู่กินกับนางรสสุคนธ์โดยไม่ได้จด ทะเบียนสมรส และมีบุตรด้วยกันหนึ่งคน คือ นายเขมชาติ โดยนายชีพ ได้ส่งเสียเลี้ยงดู ให้ใช้นามสกุล แต่ไม่ได้จดทะเบียนรับรองบุตร ต่อมา นายชีพเสียชีวิตปรากฏว่ามีทรัพย์มรดก 6,000,000 บาท ทรัพย์ดังกล่าว จะตกเป็นของใครบ้าง และได้จานวนเท่าไหร่ จงอธิบาย